ซื้อกล้องวงจรปิดติดตั้งเอง
กับการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
การอยู่ร่วมกันในสังคมทำให้มีการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม ที่เรียกว่า “การขัดเกลาทางสังคม” โดยมีเป้าหมายที่สำคัญเพื่อให้สมาชิกได้ปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เป็นไปตามบรรทัดฐานของสังคม ทำให้คนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนให้สามารถดำรงชีวิตในแนวทางที่สอดคล้องกับคนส่วนใหญ่ในสังคม เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
ซื้อกล้องวงจรปิดติดตั้งเอง |
สถาบันทางสังคมกลุ่มต่าง ๆ ที่ได้การถ่ายทอดพฤติกรรมอันพึงประสงค์ เพื่อการอยูร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ครอบครัวถือเป็นสถาบันแรกที่มีความสำคัญต่อการอบรมและขัดเกลา
ด้วยความรักและความผูกพัน โรงเรียนเป็นสถาบันที่รองลงมาจากครอบครัวทำหน้าที่ถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ ทักษะ และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การมีระเบียบวินัย
รู้จักเหตุผล รู้จักคิดวิเคราะห์ รวมถึงการวางตนให้เหมาะสม ต่อมาก็คือกลุ่มเพื่อนที่มีความเท่าเทียมกันทางสังคม ทำให้เกิดการถ่ายทอดพฤติกรรมซึ่งกันและกัน รวมทั้งค่านิยม ความเชื่อ
กลุ่มเพื่อนจึงมีความสำคัญเพราะอาจทำให้เกิดการต่อต้านพฤติกรรมที่เป็นบรรทัดฐานสังคมครอบครัวและโรงเรียนวางไว้ ต่อมากลุ่มอาชีพ เกิดจากการรวมกันของคนที่อยู่ในวัยทำงาน
กลุ่มเพื่อนจึงมีความสำคัญเพราะอาจทำให้เกิดการต่อต้านพฤติกรรมที่เป็นบรรทัดฐานสังคมครอบครัวและโรงเรียนวางไว้ ต่อมากลุ่มอาชีพ เกิดจากการรวมกันของคนที่อยู่ในวัยทำงาน
ต่างต้องร่วมมือร่วมใจกันสร้างผลงานโดยอยู่ภายใต้กฎระเบียบเดียวกัน ในโลกปัจจุบันสื่อต่างๆ จำเป็นในการดำเนินชีวิต การเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ มีอิทธิพลต่อสมาชิกในสังคม เมื่อสื่อมวลชน่ถ่ายทอดสิ่งต่าง ๆ ให้เห็นบ่อยๆ
ทำให้เกิดการจดจำและทำเป็นแบบอย่างจึงมีอิทธิพลในการปลูกฝังแนวทางการในดำเนินชีวิตด้วย สถาบันทางศาสนา มีหลักธรรมและจุดมุ่งหมายที่จะอบรมให้สมาชิกเป็นคนดี
ทำให้เกิดการจดจำและทำเป็นแบบอย่างจึงมีอิทธิพลในการปลูกฝังแนวทางการในดำเนินชีวิตด้วย สถาบันทางศาสนา มีหลักธรรมและจุดมุ่งหมายที่จะอบรมให้สมาชิกเป็นคนดี
และเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจเป็นที่พึ่งทางใจ คนจึงอยู่ใต้อิทธิพลทางความคิดและความเชื่อทางศาสนาที่ตนเคารพและนับถือ รวมทั้งความศรัทธาที่มีต่อศาสนาที่จะเป็นปัจจัยสำคัญต่อการหล่อหลอมบุคลิกภาพ
สัมพันธภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างคนที่มีความต้องการ ความคิด ความรู้สึก หรืออารมณ์ที่คล้ายกัน สอดคล้องกัน ที่แต่ละบุคคลสามารถรับรู้ได้ถึงระหว่างกันที่เกิดขึ้น
สัมพันธภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างคนที่มีความต้องการ ความคิด ความรู้สึก หรืออารมณ์ที่คล้ายกัน สอดคล้องกัน ที่แต่ละบุคคลสามารถรับรู้ได้ถึงระหว่างกันที่เกิดขึ้น
ขึ้นอยู่กับการสร้างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม ซึ่งประกอบด้วย ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคล ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น และทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม
สินค้าแนะนำ : กล้องวงจรปิด รั้วไฟฟ้า สัญญาณกันขโมย
หลักมนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
ความหมายของมุนษยสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ทางสังคมที่ก่อให้เกิดความเข้าใจที่ดีต่อกัน เป็นการอยู่ร่วมกัน เป็นหมู่หรือเป็นกลุ่มมีการติดต่อกัน
เพื่อให้สร้างความต้องการรวมไปถึงวิธีการจูงใจและประสานความต้องการของคนและกลุ่มให้ผสมผสานกลมกลืนกันตามระบบที่สังคมต้องการ
ความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์ มนุษย์เป็นผู้สร้างสังคมขึ้นมาย่อมต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน ทำงานร่วมมกันและกำหนดกฏเกณฑ์ของสังคมร่วมกัน
ความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์ มนุษย์เป็นผู้สร้างสังคมขึ้นมาย่อมต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกัน ทำงานร่วมมกันและกำหนดกฏเกณฑ์ของสังคมร่วมกัน
การพึ่งพาอาศัยกันทำให้มนุษย์มี “มนุษยสัมพันธ์” จึงเป็นธรรมชาติของความเป็นมนุษย์และมีการสั่งสอนอบรมถ่ายทอดสืบต่อกันมาและรวมถึงหลักธรรมทางศาสนา
หลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนามุ่งเน้นการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
กระบวนการทางสังคมจากพฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนุษย์
ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เป็นกระบวนการทางสังคมที่ทำให้เกิดการพบปะสังสรรค์กันเป็นผลมาจากพฤติกรรมและบุคลิกภาพของมนษย์มีด้วยกัน 6 ลักษณะดังนี้
1. ความร่วมมือ กระบวนการที่กลุ่มตกลงที่จะร่วมกันทำกิจกรรมร่วมกัน ความร่วมมือความเต็มใจของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน พึ่งพาอาศัยกันเพื่อทำงานให้ประสบความสำเร็จ
โดยต่างฝ่ายต่างมีผลประโยชน์ที่สอดคล้องกัน ความร่วมมือก่อให้เกิดผลกระทบเฉพาะบุคคลหรือกลุ่ม เมื่อมีการติดต่อสัมพันธ์กันมากขึ้น ย่อมเกิดการผสมผสานจนเอกลักษณ์ของบุคคลหรือกลุ่มไม่สามารถแยกแยะได้ชัดเจน
2. ความเห็นพ้องต้องกัน กระบวนการของสังคมที่มีแนวทางเดียวกัน ความเห็นพ้องต้องกันเป็นลักษณะความร่วมมือกันเป็นความสัมพันธ์ที่เกิดจากการตกลงกันเป็นเอกฉันท์ และต้องรักษาความสัมพันธ์อันดีต่อกันไว้
2. ความเห็นพ้องต้องกัน กระบวนการของสังคมที่มีแนวทางเดียวกัน ความเห็นพ้องต้องกันเป็นลักษณะความร่วมมือกันเป็นความสัมพันธ์ที่เกิดจากการตกลงกันเป็นเอกฉันท์ และต้องรักษาความสัมพันธ์อันดีต่อกันไว้
ซึ่งมักจะเกิดขึ้นเมื่อมีแนวคิดหนึ่งได้แพร่กระจายอย่างกว้างขวางและได้รับการยอมรับจากสมาชิกในสังคม ก่อให้เกิดความเห็นพ้องต้องกันและยินยอมที่จะทำหรือไม่ทำร่วมกัน
3. การแข่งขัน การที่คนตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไปพยายามดิ้นรนสู่เป้าหมายเดียวกัน ซึ่งแต่ละฝ่ายได้แสดงพฤติกรรมของการชิงดีชิงเด่นต้องการเป็นผู้นำในสังคม ทำให้เกิดมีผู้ชนะและผู้แพ้
3. การแข่งขัน การที่คนตั้งแต่ 2 ฝ่ายขึ้นไปพยายามดิ้นรนสู่เป้าหมายเดียวกัน ซึ่งแต่ละฝ่ายได้แสดงพฤติกรรมของการชิงดีชิงเด่นต้องการเป็นผู้นำในสังคม ทำให้เกิดมีผู้ชนะและผู้แพ้
การแข่งขันกันของมนุษย์ในสังคมที่เกิดขึ้นอยู่เสมอเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและสร้างแนวทางในการดำเนินชีวิตให้ไปในทางที่ดีที่สุด การปรับปรุงเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าหรือประสบความสำเร็จในชีวิต
4. ความขัดแย้ง เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเพราะคนมีความคิด มีวิธีการดำเนินชีวิตที่เกิดจากความแตกต่างกันทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี หรือเกิดจากผลประโยชน์ที่ไม่ตรงกัน
4. ความขัดแย้ง เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเพราะคนมีความคิด มีวิธีการดำเนินชีวิตที่เกิดจากความแตกต่างกันทั้งทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี หรือเกิดจากผลประโยชน์ที่ไม่ตรงกัน
ความขัดแย้งภายในกลุ่มมีผลทำให้เสียความเป็นเอกภาพความเป็นหนึ่งเดียว ถ้าความขัดแย้งเกิดขึ้นระหว่างกลุ่ม อาจทำให้เกิดพลังความร่วมมือภายในกลุ่มขึ้น
5. การสมานลักษณ์ กระบวนการทางสังคมที่คนในกลุ่มหรือต่างกลุ่มที่มีความคิดแตกต่างกันแต่ได้ตกลงยินยอม ประนีประนอม และปรับตัวเข้าหากัน การบวนการนี้อาจเกิดขึ้นหลังจากความขัดแย้ง
5. การสมานลักษณ์ กระบวนการทางสังคมที่คนในกลุ่มหรือต่างกลุ่มที่มีความคิดแตกต่างกันแต่ได้ตกลงยินยอม ประนีประนอม และปรับตัวเข้าหากัน การบวนการนี้อาจเกิดขึ้นหลังจากความขัดแย้ง
การไปถึงจุดหนึ่งแล้วหันมาประนีประนอมเพื่อยุติความขัดแย้งนั้น ๆ การสมานลักษณ์จึงเป็นกระบวนการทางสังคมที่ต่างปรับตัวเข้าหากัน โดยที่ต่างฝ่ายยังคงรักษาผลประโยชน์ของตน
6. การผสมกลมกลืน การผสมผสานของคนและกลุ่มคนในเรื่องทัษนคติ ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม ที่เกิดจากการมีประสบการณ์ร่วมกันเป็นระยะเวลาอันยาวนานในวิธีการดำเนินชีวิตทางวัฒนธรรมร่วมกัน
6. การผสมกลมกลืน การผสมผสานของคนและกลุ่มคนในเรื่องทัษนคติ ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม ที่เกิดจากการมีประสบการณ์ร่วมกันเป็นระยะเวลาอันยาวนานในวิธีการดำเนินชีวิตทางวัฒนธรรมร่วมกัน
ทำให้เกิดความเข้าใจซึ่งกันและกันอย่างกว้างขวางและลึกซึ้ง เกิดการยอมรับและการปรับตัวเข้าเป็นวัฒนธรรมใหม่และยอมทิ้งวัฒนธรรมเก่าไป ลักษณะการผสมกลมกลืนจะดำเนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไปอย่างช้า ๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น