กล้อง ip wireless camera
เป็นที่ทำให้คอมพิวเตอร์กลายเป็นส่วนที่สำคัญในชีวิตประจำวันของเราในปัจจุบัน จึงได้เป็นโปรโตคอลมาตรฐานที่ใช้ในองค์กรธุรกิจและรัฐบาล
ซึ่งได้ถูกพัฒนาและวิจัยมาเพื่อใช้ในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่ต่างระบบกันให้สามารถสื่อสารกันผ่านเครือข่ายได้ ขั้นตอนการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่ค่อนข้างซับซ้อนจึงแบ่งเป็นชั้นย่อยหรือเลเยอร์
เพื่อเป็นการแยกการทำงานของแอพพลิเคชันของผู้ใช้ออกจากฮาร์ดแวร์ที่ใช้รับส่งข้อมูลเครือข่าย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันประกอบด้วยอุปกรณ์และฮาร์ดแวร์ที่ผลิตโดยบริษัทต่าง ๆ แต่สามารถทำงานร่วมกันได้
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันประกอบด้วยอุปกรณ์และฮาร์ดแวร์ที่ผลิตโดยบริษัทต่าง ๆ แต่สามารถทำงานร่วมกันได้
เนื่องจากผลิตตามมาตรฐานที่กำหนดโดยองค์กรกลาง โปรโตคอล TCP/IP เป็นมาตรฐานที่ได้รับความนิยมมากที่สุดสำหรับเครือข่ายในปัจจุบัน ด้วยเหตุผลดังนี้
· เป็นโปรโตคอลระบบเปิด
· TCP/IP ถูกออกแบบมาเพื่อให้แพลตฟอร์มต่างกันสามารถสื่อสารกันได้
· ได้พิสูจน์แล้วว่าโปรโตคอล TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่แข็งแกร่ง มีประสิทธิภาพสูง และมีความสามารถในการขยายตัวสูง
· เป็นโปรโตคอลมาตรฐานสากลในการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็นภาษาที่ใช้ในระบบอินเทอร์เน็ต
· เป็นโปรโตคอลระบบเปิด
· TCP/IP ถูกออกแบบมาเพื่อให้แพลตฟอร์มต่างกันสามารถสื่อสารกันได้
· ได้พิสูจน์แล้วว่าโปรโตคอล TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่แข็งแกร่ง มีประสิทธิภาพสูง และมีความสามารถในการขยายตัวสูง
· เป็นโปรโตคอลมาตรฐานสากลในการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ และเป็นภาษาที่ใช้ในระบบอินเทอร์เน็ต
สินค้าแนะนำระบบรักษษความปลอดภัยพื้นฐาน : กล้องวงจรปิด
กล้อง ip wireless camera |
TCP/IP จะมีการออกแบบโปรโตคอลที่คล้ายกับแบบอ้างอิง OSI คือจะแบ่งออกเป็นเลเยอร์ แต่จะมุ่งเน้นไปที่การเชื่อมต่อระหว่างระบบที่ต่างกัน ในขณะที่แบบอ้างอิง 0SI
จะเน้นไปที่การแบ่งการทำงานของโปรโตคอลเป็นเลเยอร์ ส่วนใหญ่จะนิยมใช้โปรโตคอล OSI ในการอธิบายการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย ส่วนชุดโปรโตคอล TCP/IP เป็นที่นิยมในการนำไปใช้จริง
IP ทำหน้าที่เสมือนกับที่ทำการไปรษณีย์ มีหน้าที่จัดการรับส่งแพ็กเก็ต หรือเรียกว่า “ดาต้าแกรม” โปรโตคอล IP เป็นการให้บริการแบบคอนเน็กซันเลส
IP ทำหน้าที่เสมือนกับที่ทำการไปรษณีย์ มีหน้าที่จัดการรับส่งแพ็กเก็ต หรือเรียกว่า “ดาต้าแกรม” โปรโตคอล IP เป็นการให้บริการแบบคอนเน็กซันเลส
ทำให้มีความน่าเชื่อถือน้อยเพราะว่าไม่มีการเชื่อมต่อก่อนที่จะรับส่งข้อมูล เพราะแพ็กเก็ตอาจสูญหายระหว่างทาง
และถ้าข้อมูลมีหลายแพ็กเก็ตอาจเดินทางไปถึงปลายทางไม่เป็นลำดับได้ หรือมีการส่งซ้ำกันหรือส่งถึงล่าช้า
IP Address หมายถึง เลขที่บอกที่อยู่เฉพาะโหนดหรือโฮสต์ รวมถึงคอมพิวเตอร์และเราท์เตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย หมายเลขไอพีของแต่ละเครื่องในเครือข่ายจะไม่ซ้ำกัน
IP Address หมายถึง เลขที่บอกที่อยู่เฉพาะโหนดหรือโฮสต์ รวมถึงคอมพิวเตอร์และเราท์เตอร์ที่อยู่ในเครือข่าย หมายเลขไอพีของแต่ละเครื่องในเครือข่ายจะไม่ซ้ำกัน
โฮสต์หนึ่งอาจมีหมายเลขไอพีได้มากกว่าหนึ่งเลขหมายก็ได้ ปัจจุบันโปรโตคอล IP ที่ใช้งานอยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตจะเป็นเวอร์ชัน 4
เพื่อเป็นการง่ายหมายเลขไอพีจึงนิยมเขียนให้อยู่ในรูปแบบดอตเดซิมอลและจะง่ายต่อการจำมากกว่าหมายเลขไอพีที่อยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง
ระบบรักษาความปลอดภัยขั้นสูง : รั้วไฟฟ้ากันขโมย
หลักการทำงานของเราท์เตอร์ โฮสต์ทั่วไปจะไม่ทำเราท์ติ้งแต่โฮสต์จะมีข้อมูลเพียงพอที่จะส่งแพ็กเก็ตข้อมูลไปยังเราท์เตอร์ซึ่งจะมีเราท์เตอร์หลักของแต่ละเครือข่ายเรียกว่า “ดีฟอลด์เราท์เตอร์”
เมื่อต้องการที่จะส่งแพ็กเก็ตไปยังคนละเครือข่ายกันก็จะส่งไปยังเราท์เตอร์แทน การส่งแพ็กเก็ตระหว่างโฮสต์นั้นจะมีอยู่สองกรณีคือ โฮสต์ปลายทางอยู่ในเครือข่ายเดียวกัน
โดยโฮสต์จะตรวจสอบหมายเลขเครือข่ายของโฮสต์ปลายทางว่าอยู่เครือข่ายเดียวกันหรือไม่ ถ้าอยู่แพ็กเก็ตจะถูกส่งตรงไปยังโฮสต์ปลายทางโดยไม่ต้องผ่านเราท์เตอร์
โดยโฮสต์จะตรวจสอบหมายเลขเครือข่ายของโฮสต์ปลายทางว่าอยู่เครือข่ายเดียวกันหรือไม่ ถ้าอยู่แพ็กเก็ตจะถูกส่งตรงไปยังโฮสต์ปลายทางโดยไม่ต้องผ่านเราท์เตอร์
ในกรณีที่สองที่โฮสต์ปลายทางอยู่คนละเครือข่าย โฮสต์ที่จะส่งก็จะใช้โปรโตคอลแล้วส่งแพ็กเก็ตไปยังเราท์เตอร์นั้น เราท์เตอร์ก็จะทำหน้าที่ส่งต่อแพ็กเก็ตนั้นให้กับโฮสต์
จะเห็นได้ว่าการค้นหาเส้นทางของโฮสต์นั้นง่าย แค่ต้องทราบว่าโฮสต์ปลายทางอยู่ในเครือข่ายเดียวกันหรือไม่เท่านั้น ถ้าไม่ใช่ก็ส่งแพ็กเก็ตต่อให้เราท์เตอร์จัดการต่อไป
TCP จะแบ่งย่อยขั้นตอนในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ออกเป็น 4 เลเยอร์ เลเยอร์ที่ถือเป็นหัวใจสำคัญของ TCP/IP คือ ทรานสปอร์ตเลเยอร์
TCP จะแบ่งย่อยขั้นตอนในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ออกเป็น 4 เลเยอร์ เลเยอร์ที่ถือเป็นหัวใจสำคัญของ TCP/IP คือ ทรานสปอร์ตเลเยอร์
และอินเทอร์เน็ตเลเยอร์ โปรโตคอลที่ทำงานในชั้นทรานสปอร์ตเลเยอร์มีอยู่ 2 โปรโตคอล คือ TCP และ UDP โปรโตคอล TCP จะให้บริการแบบคอนเน็กซันโอเร็นเต็ด
ซึ่งเป็นการให้บริการที่เชื่อถือได้ ส่วน UDP จะให้บริการแบบคอนเน็กซันเลส ซึ่งเป็นการให้บริการแบบมีความเชื่อถือได้ต่ำ แต่มีข้อดีของ UDP คือ มีประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลจะดีกว่า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น