ติดกล้องวงจรปิดราคา
ไม่สำคัญหากมนุษย์อยู่เพียงลำพัง
มนุษย์ไม่สามารถที่จะอยู่ตามลำพังคนเดียวได้ส่วนมากจึงมักจะอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มสังคมและมีการพบปะพูดคุยสังสรรค์กันหรือมีกิจกรรมทำร่วมกันทำให้เกิดความสัมพันธ์กันภายในกลุ่ม
มนุษย์ทุกคนย่อมมีความแตกต่างกันจึงจำเป็นที่จะต้องมีกกเกณฑ์ ระเบียบแบบแผน เพื่อให้สังคมนั้นเป็นวิถีในการดำรงชีวิตร่วมกัน เรียกว่า วัฒนธรรม
ความเจริญงอกงามในสังคมมนุษย์เกิดขึ้นจากปัจจัย มนุษย์รู้จักคิด สามารถใช้ภูมิปัญญาและใช้เหตุผลจนสามารถประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ และมนุษย์รู้จักใช้ประโยชน์จากสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติ
และรู้จักสื่อสารและถ่ายทอดความรู้และความรู้สึกให้เป็นที่เข้าใจและพัฒนาสืบต่อได้ วัฒนธรรมในแต่ละสังคมแตกต่างกัน ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคมเกิดขึ้นภายใต้กระบวนการขัดเกลาของสังคม
การสร้างสัมพันธภาพในสังคม การสร้างสรรค์การสื่อสาร และการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
สินค้าแนะนำ : กล้องวงจรปิด
ติดกล้องวงจรปิดราคา |
ความหมายของสัมพันธภาพ
สัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่มีความต้องการ ความคิด ความรู้สึก อารมณ์ที่คล้ายกันหรืออยู่ในแนวเดียวกัน โดยแต่ละคนสามรถรู้ได้ถึงการมีความสัมพันธ์ระหว่างกันที่เกิดขึ้นได้
และยังเป็นพฤติกรรมของการร่วมมือของบุคคลที่มีกลุ่มเป้าหมายเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน การทำงานร่วมกันทำให้เกิดสัมพันธภาพขึ้นภายใต้กฏเกณฑ์และระเบียบขององค์กร ซึ่งจะพัฒนาไปสู่ความผูกพันและมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันต่อไป
การสร้างสัมพันธภาพในสังคม มนุษย์มีความสัมพันธ์กันในลักษณะต่าง ๆ ในโลกปัจจุบันการอยู่ร่วมกันในสังคมมีการติดต่อสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น
การสร้างสัมพันธภาพในสังคม มนุษย์มีความสัมพันธ์กันในลักษณะต่าง ๆ ในโลกปัจจุบันการอยู่ร่วมกันในสังคมมีการติดต่อสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น
และกว้างขวางขึ้นเพราะอิทธิพลจากระบบเศรษฐกิจมีการรวบรวมทรัพยากรหรือความสามารถของแต่ละคน การแบ่งหน้าที่การทำงานตามความสามารถเฉพาะอย่าง
เพื่อตอบสนองความต้องการในระบบเศรษฐกิจจนเป็นผลทำให้คนส่วนใหญ่มีความมสามารถและความเชี่ยวชาญเพียงด้านเดียวเท่านั้น
ความสัมพันธ์ระหว่างคนและกลุ่มคนจึงมีผลต่อการอยู่ร่วมกันและเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินชีวิต การพัฒนาการทางสังคมและทัศนคติ ค่านิยม
ความสัมพันธ์ระหว่างคนและกลุ่มคนจึงมีผลต่อการอยู่ร่วมกันและเป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินชีวิต การพัฒนาการทางสังคมและทัศนคติ ค่านิยม
รวมทั้งบุคลิกภาพของแต่ละคนพัฒนาขึ้นมาจากการมีสัมพันธภาพกับคนอื่น ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างคนที่มีความเชื่อมโยงกันในสังคมนี้เรียกว่า สัมพันธภาพ
องค์ประกอบของการสร้างสัมพันธภาพ มีองค์ประกอบดังนี้
- การมีส่วนร่วม การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน โดยเน้นการให้ความเข้าใจ การยอมรับ และเห็นคุณค่าในเอกลักษณ์ความสามารถส่วนตัวสร้างความตระหนักถึงความสำคัญ
องค์ประกอบของการสร้างสัมพันธภาพ มีองค์ประกอบดังนี้
- การมีส่วนร่วม การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน โดยเน้นการให้ความเข้าใจ การยอมรับ และเห็นคุณค่าในเอกลักษณ์ความสามารถส่วนตัวสร้างความตระหนักถึงความสำคัญ
ของการร่วมมือร่วมใจ การเห็นพ้องต้องกัน การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ร่วมคิดร่วมตัดสินใจ ร่วมแก้ปัญหา การใช้วิทยาการที่เหมาะสม
และการมีส่วนร่วมจะส่งผลให้เกิดการสนับสนุนหรือติดตามการทำงานของคนหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง
- การควบคุม กระบวนการสร้างสัมพันธภาพด้วยการใช้อิทธิพลอำนาจ การบังคับบัญชาของผู้บริหาร เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างกันเพื่อเป็นการตอบสนองให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
- การควบคุม กระบวนการสร้างสัมพันธภาพด้วยการใช้อิทธิพลอำนาจ การบังคับบัญชาของผู้บริหาร เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างกันเพื่อเป็นการตอบสนองให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
การสร้างสัมพันธภาพส่วนบุคคลด้วยการควบคุมจะเกิดผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับผู้ถูกควบคุมจะยอมรับในอำนาจหรือไม่ หรืออยู่ภายใต้การควบคุมนั้นอย่างไร
ลักษณะของการสร้างสัมพันธภาพแบบควบคุม
- การโต้แย้งด้วยการใช้เหตุผลของตนเองเพื่อให้ชนะผู้อื่น มักจะมีลักษณะรุนแรงก้าวร้าว ทำให้ผู้อื่นที่ไม่ต้องการความขัดแย้งไม่ตอบโต้ซึ่งมีผลทำให้ผู้โต้แย้งเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะและสร้างสัมพันธภาพที่ไม่ดีต่อกัน
- การต่อต้านความคิดเห็นของคนอื่น ไม่ยอมให้ความคิดคนอื่นมาควบคุมตนเองเป็นการสร้างสัมพันธภาพในทางลบ และไม่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
- การมอบหมายงานด้วยคำสั่ง การควบคุมการทำงานตามที่ผู้บังคับบัญชาต้องการ โดยผู้ร่วมงานไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น
- การสั่งการหรือการออกคำสั่ง การสร้างสัมพันธภาพแบบใช้อำนาจที่ผู้ทำงานต้องทำงานอย่างไม่เต็มใจ หรือทำตามเท่าที่สั่งการเท่านั้น
ลักษณะของการสร้างสัมพันธภาพแบบควบคุม
- การโต้แย้งด้วยการใช้เหตุผลของตนเองเพื่อให้ชนะผู้อื่น มักจะมีลักษณะรุนแรงก้าวร้าว ทำให้ผู้อื่นที่ไม่ต้องการความขัดแย้งไม่ตอบโต้ซึ่งมีผลทำให้ผู้โต้แย้งเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะและสร้างสัมพันธภาพที่ไม่ดีต่อกัน
- การต่อต้านความคิดเห็นของคนอื่น ไม่ยอมให้ความคิดคนอื่นมาควบคุมตนเองเป็นการสร้างสัมพันธภาพในทางลบ และไม่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
- การมอบหมายงานด้วยคำสั่ง การควบคุมการทำงานตามที่ผู้บังคับบัญชาต้องการ โดยผู้ร่วมงานไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น
- การสั่งการหรือการออกคำสั่ง การสร้างสัมพันธภาพแบบใช้อำนาจที่ผู้ทำงานต้องทำงานอย่างไม่เต็มใจ หรือทำตามเท่าที่สั่งการเท่านั้น
สินค้าแนะนำ : รั้วไฟฟ้า
คุณค่าของสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
1. การรู้จักตนเอง การที่เรามีความสัมพันธ์กับคนอื่นจะทำให้เรานั้นรู้จุดเด่นและจุดด้อยของตนเอง ทำให้รู้และเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล ด้วยสัมพันธภาพที่ดีระหว่างกันทำให้เกิดการยอมรับและเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเป็นจริง
2. การรู้คุณค่าของชีวิต คนที่มีสัมพันธภาพที่ดีกับคนอื่นจะทำให้มีสุขภาพจิตที่ดี ได้รับการเอาใจใส่ การยอมรับของสังคม การเห็นคุณค่าของตนเองและชีวิตในสภาพความเป็นจริง
มีศักยภาพและความสำเร็จในชีวิต ส่วนคนที่ไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อคนอื่นได้จะรู้สึกอ้างว้าง โดดเดี่ยว ชีวิตไร้ความหมาย และนำไปสู่ความซึมเศร้า สร้างพฤติกรรมที่เป็นปัญหาต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม
3. การสร้างสังคมให้น่าอยู่ มีระเบียบ และสันติสุข ในสังคมถ้าคนมีสัมพันธภาพที่ดีก็จะมีความสงบสุข และสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ การเมือง
3. การสร้างสังคมให้น่าอยู่ มีระเบียบ และสันติสุข ในสังคมถ้าคนมีสัมพันธภาพที่ดีก็จะมีความสงบสุข และสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ การเมือง
การปกครอง และความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การที่มีสัมพันธภาพที่ดีย่อมทำให้เกิดความสามัคคี การร่วมมือสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิตของสมาชิกในสังคมมีการพัฒนาในทางที่ดีขึ้นด้วย
การสร้างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม
1. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคล ในปัจจุบันเป็นการปรับตัวของการวางตนในแต่ละสถานการณ์ที่เหมาะสม ต้องค้นพบความเป็นตัวเองและผู้อื่น
การสร้างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม
1. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคล ในปัจจุบันเป็นการปรับตัวของการวางตนในแต่ละสถานการณ์ที่เหมาะสม ต้องค้นพบความเป็นตัวเองและผู้อื่น
และต้องตระหนักและให้ความสำคัญกับเป้าหมายและจุดมุ่งหมายในชีวิต รวมทั้งการทำตามวัฒนธรรมประเพณีของสังคมที่ถูกต้องและเหมาะสม เช่น การใส่ใจและเอาใจใส่ซึ่งกันและกัน
ความซื่อสัตย์และความไว้วางใจต่อกัน การยอมรับและนับถือตนเองและผู้อื่น การมีส่วนร่วมและรู้จักการแบ่งปัน การเสียสละ หรือรู้จักการให้ มีความยือหยุ่น และการเห็นอกเห็นใจผู้อื่นและการรู้จักให้อภัยในความผิดพลาดของผู้อื่น
2. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว การพัฒนาบุคคลมีความสำคัญต่อสถาบันครอบครัว เป็นแหล่งเสริมสร้างบุคลิกภาพ ทัศนคติ ความคิด ความเชื่อของบุคคล
2. ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว การพัฒนาบุคคลมีความสำคัญต่อสถาบันครอบครัว เป็นแหล่งเสริมสร้างบุคลิกภาพ ทัศนคติ ความคิด ความเชื่อของบุคคล
พฤติกรรมของคนในครอบครัวควรปฏิบัติต่อกันดังนี้ ทำหน้าที่ของตนด้วยความรักและความเอาใจใส่ต่อคนในครอบครัว
หาโอกาสให้คนในครอบครัวมีโอกาสพบปะหรือรือร่วมกันและเรียนรู้อุปนิสัยของกันและกันและสามารถปรับตัวให้อยู่ร่วมกันได้ ให้สมาชิกในครอบครัวได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมกันแก้ปัญหา
ฝึกให้คนในครอบครัวเป็นผู้ฟังและผู้พูดที่ดีและยอมรับความคิดเห็นของคนในครอบครัว ฝึกทักษะในการหลีกเลี่ยงความขัดแย้งและมีการอภัยซึ่งงกันและกันในครอบครัว
รวมถึงการมีสัมมาคารวะ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ให้ความนับถือผู้ที่มีอาวุโสในครอบครัวและในสังคม
3. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การทำงานร่วมกันทักษะที่จำเป็นในการอยู่ร่วมกันต้องอาศัยสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน การสื่อสาร การปฏิบัติต่อกันด้วยความเคารพ การทำคนให้ถูกต้อง
3. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น การทำงานร่วมกันทักษะที่จำเป็นในการอยู่ร่วมกันต้องอาศัยสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน การสื่อสาร การปฏิบัติต่อกันด้วยความเคารพ การทำคนให้ถูกต้อง
และรู้จักการทำงานร่วมกันเป็นทีมจะทำให้งานนั้นมีประสิทธิภาพ การทำงานเป็นทีมต้องรู้จักพึ่งพาอาศัยกัน มีความสัมพันธ์กันระหว่างหัวหน้ากลุ่มและสมาชิกผู้ร่วมงาน
มีวัตถุประสงค์เป้าหมายที่ชัดเจน ทักษะการทำงานเป็นทีมต้องอาศัยการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดในการทำงาน ต้องมีเจตคติที่ดีในการทำงาน
และเชื่อมั่นในความสามารถของเพื่อนร่วมงาน ผู้นำกลุ่มต้องเป็นผู้นำที่ดีมีความรู้ความสามารถ การจูงใจในการทำงาน รู้จักใช้ข้อขัดแย้งนั้นมาแก้ไขเพื่อเสริมสร้างและสร้างสรรค์ให้องค์กรนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น
4. ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม ถือเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับทุกเพศทุกวัยและต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ และการเรียนรู้ที่จะต้องช่วยเหลือกันและอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นภานใต้กฏกติกาและระเบียบ
4. ทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคม ถือเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับทุกเพศทุกวัยและต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ และการเรียนรู้ที่จะต้องช่วยเหลือกันและอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นภานใต้กฏกติกาและระเบียบ
เพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าสังคม โดยเฉพาะเรื่องของการใช้หุผล การสร้างมิตรภาพ รู้จักการเป็นผู้ใหม่มากกว่าที่จะเป็นผู้รับแต่ฝ่ายเดียว
การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นทักษะอย่างหนึ่งในชีวิตและสังคม เพื่อใช้ในการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว้างกันในสังคม เพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงสถานการณ์ที่หลากหลาย
เพื่อให้การดำเนินชิวตเป็นไปอย่างราบรื่น มีความก้าวหน้าในอาชีพการงาน และประสบความสำเร็จในชีวิต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น