ช่างซ่อมกล้องวงจรปิด มักจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม มีการพึ่งพาอาศัยกันเพื่อความอยู่รอดในการดำเนินชีวิต และได้มีการศึกษาและทำความเข้าใจตามธรรมชาติ และได้สรุปไว้ว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม”
สัตว์สังคมเป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งที่มีชีวิตและมีการติดต่อสัมพันธ์กันภายในสมาชิกและมีความสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนเป็นระบบ เราเรียกความสัมพันธ์นี้ว่า “ระบบสังคมแบบพึงพาอาศัยกัน”
มนุษย์ไม่สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างอิสระตามลำพังคนเดียวได้ เพราะไม่อาจสืบเชื้อสาย ไม่อาจปกป้องตนเอง และไม่อาจบำรุงสติปัญญา ความคิด และกำลังใจให้เพียงพอได้
จะต้องอาศัยและพึงพาความร่วมมือจากเพื่อมนุษย์ด้วยกัน สังคมมนุษย์เริ่มจากขนาดเล็กในระดับครอบครัว ซึ่งเมื่อยังเด็กต้องพึ่งพาอาศัยพ่อแม่ ญาติพี่น้องเลี้ยงดู และเมื่อโตชึ้นก็มีเพื่อนและคนอื่นๆ
ช่างซ่อมกล้องวงจรปิดสินค้าแนะนำ : กล้องวงจรปิด |
ในชุมชน จนพัฒนาขึ้นเป็นสังคมขนาดใหญ่ในระดับประเทศ “การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มในแต่ละกลุ่มจะมีการแบ่งแยกออกเป็นชนชั้น และแบ่งหน้าที่กัน
เมื่อคนเรารู้จักหน้าที่ของตนแล้ว จะทำให้ทุกคนดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข” ส่วนในปัจจุบันมีความเห็นว่า “บุคคลจะเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมได้ต้องประกอบด้วย การมีสภาพร่างกายที่ดี มีนิสัยดี และมีเหตุผล”
สังคม กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระเบียบ และมีกฏเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกันเป็นสำคัญ หรือกลุ่มคนที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่บริเวณใดที่มีความสัมพันธ์กันโดยทางตรงหรือทางอ้อม
สังคม กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระเบียบ และมีกฏเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์ร่วมกันเป็นสำคัญ หรือกลุ่มคนที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่บริเวณใดที่มีความสัมพันธ์กันโดยทางตรงหรือทางอ้อม
และมีการยอมรับแบบแผนกฏเกณฑ์ของสังคมนั้น ๆ ที่ได้สืบทอดกันมาจนถือเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมและได้ร่วมกันสร้างสรรค์อาจมีการปรับเปลี่ยน
ดัดแปลง หรือประยุกต์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน
มนุษย์ สังคม และวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์ซึ่งถือเป็นความเจริญงอกงามในสังคม หรือวิถีชิตในกลุ่มคนในสังคมนั้น ๆ
สาเหตุของการอยู่ร่วมกันในสังคม
เพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ มนุษย์มีลักษณ์ที่แตกต่างกันขณะที่เป็นทารกนั้นต้องพึ่งพาครอบครัวให้เลี้ยวดูเป็นเวลานานจึงสามารถดูแลตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
มนุษย์ สังคม และวัฒนธรรม เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับมนุษย์ซึ่งถือเป็นความเจริญงอกงามในสังคม หรือวิถีชิตในกลุ่มคนในสังคมนั้น ๆ
สาเหตุของการอยู่ร่วมกันในสังคม
เพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ มนุษย์มีลักษณ์ที่แตกต่างกันขณะที่เป็นทารกนั้นต้องพึ่งพาครอบครัวให้เลี้ยวดูเป็นเวลานานจึงสามารถดูแลตนเองได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
ความจำเป็นนี้จึงทำให้มนุษย์ต้องใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันและร่วมมือกันแสวงหาสิ่งที่จำเป็นต่าง ๆ มาตอบสนองความต้องการทางด้านชีวภาพ กายภาพ จิตวิทยา และด้านสังคม
เพื่อให้สามารถดำรงชิวตอยู่ได้อย่างมีความสุข และความต้องการด้านพื้นฐานของมนุษย์ ดังนี้
เพื่อความเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ มนุษย์มีสติปัญญาสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผล สามารถทำความดี สร้างประโยชน์ให้แก่ตนเองและผู้อื่น สามาถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
- - ความต้องการให้มีชีวิตรอดปลอดภัย ความต้องการอาหาร อากาศ น้ำ ยารักษาโรค
- - ความต้องการสิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิต ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งหุ่ม เครื่องมือเครื่องใช้
- - ความต้องการตอบสนองทางด้านจิตใจ การต้องการความรัก การเอาใจใส่ ต้องการการให้กำลังใจ หรือต้องการให้คนอื่นเห็นความสำคัญของตนเอง
- - ความต้องการทางสังคมหรือความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน การมีครอบครัว การประกอบอาชีพ การทำตามความเชื่อของตนเอง
สินค้าแนะนำการรักษาความปลอดภัยขั้นสูง : รั้วไฟฟ้า
การที่คนเราต้องอยู่ร่วมกันทำให้สามารถใช้สติปัญญาและคิดค้นวิธีการอยู่ร่วมกัน เพื่อสนองความต้องการของตนเองและในกลุ่มของตน และสร้างแบบแผนการดำรงชีวิต
รวมถึงการสร้างกฏเกณฑ์ ระเบียบ และภาษาในการสื่อสารกัน สิ่งต่าง ๆ ที่ได้ร่วมมือกันสร้างขึ้นมานี้เรียกว่า วัฒนธรรม ที่ทำให้มนุษย์มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์อย่างแท้จริง
เพื่อสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและกลุ่ม การอยู่รวมกันของคนและความต้องการที่จะมีชีวิตที่เจริญขึ้น สะดวกสบายขึ้น ต้องการเรียนรู้ และภูมิปัญญารวมถึงความเชี่ยวชาญของบุคคล
เพื่อสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและกลุ่ม การอยู่รวมกันของคนและความต้องการที่จะมีชีวิตที่เจริญขึ้น สะดวกสบายขึ้น ต้องการเรียนรู้ และภูมิปัญญารวมถึงความเชี่ยวชาญของบุคคล
ในสังคมไว้อย่างเป็นระเบียบ มีการถ่ายทอดและส่งผ่านความเจริญทางด้านต่าง ๆ ให้คนรุ่นต่อ ๆ มาใช้เป็นฐานความรู้ และพัฒนามาอย่างต่อเนื่องเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่
ความเจริญ และวิทยาการทางด้านต่าง ๆ การอยู่ร่วมกันทำให้สังคมมนุษย์สามารถสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าให้กับตนเองและสังคมได้
องค์ประกอบของสังคมมนุษย์ ประกอบด้วย
หน้าที่โดยทั่วไป เกิดการที่อยู่ร่วมกันเพื่อการมีชีวิตให้อยู่รอดปลอดภัย การกินดีอยู่ดี ความมั่นคงในชีวิต และความเจริญของสังคม
องค์ประกอบของสังคมมนุษย์ ประกอบด้วย
- - ดินแดนหรืออาณาบริเวณ ดำรงอยู่ในขอบเขตในสังคมสามารถอาศัยอยู่ร่วมกันและทำกิจกรรมร่วมกันได้ ภายในครอบครัว หรือเป็นบริเวณที่มีผู้คนมาตั้งหลักแหล่งทำมาหากินร่วมกันเป็นหมู่บ้านจนถึงระดับประเทศหรือระดับชาติ
- - ประชากรที่มีอยู่ร่วมกัน ประกอบด้วยผู้คนจำนวนหนึ่งที่มีความผูกพันกันภายในสังคมของตนเอง และมีการกระทำต่อกันในทางใดทางหนึ่ง
- - ความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน คนที่มาอยู่ร่วมกันมีความสัมพันธ์ระหว่างกันทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่นการทำงานร่วมกัน การพูดคุยกัน การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การอยู่ในหมู่บ้านเเหลือซึ่งกันและกัน การอยู่ในง
- - ความร่วมมือและแบ่งหน้าที่กัน คนแต่ละกลุ่มจะมมีหน้าที่ที่แตกต่างกันออกไป ในสังคมแต่ละแห่งจะประกอบด้วยกลุ่มคนที่ทำหน้าที่สนองความต้องการของคนในสังคมแตกต่างกันด้วย ซึ่งก็ส่งผลให้สังมนุษย์มีการแบ่งแยกชนชั้น ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในสังคมแตกต่างกันออกไป
- - การจัดระเบียบทางสังคม มนุษย์จะต้องอยู่ร่วมกันในสังคม แต่ละบุคคลต้องตอบสนองหรือมีความสัมพันธ์ระหว่างกันทั้งในกลุ่มและต่างกลุ่ม การมีปฏิสัมพันธ์ทำให้มีการกำหนดกฏเกณฑ์ กฏระเบียบเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างตนเองและคนอื่น ๆ ในสังคม
หน้าที่โดยทั่วไป เกิดการที่อยู่ร่วมกันเพื่อการมีชีวิตให้อยู่รอดปลอดภัย การกินดีอยู่ดี ความมั่นคงในชีวิต และความเจริญของสังคม
จึงเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกัน การสื่อสารระหว่างกลุ่ม การสร้างแบบแผน รวมทั้งการกำหนดสถานภาพทางสังคมและบทบาทหน้าที่ของแต่ละบุคคล
และมีบทบืหน้าที่สำคัญต่อการคงอยู่ของบุคคลทำให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันในสังคม
หน้าที่เฉพาะทางสังคม ได้แก่
สังคมมนุษย์สามารถจัดแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณตามเกณฑ์ที่กำหนด และนักสังคมวิทยาได้จัดแบ่งมนุษย์ตามลักษณะความสัมพันธ์ของสมาชิกและลักษณะการดำรงชีวิต ออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
1. สังคมดั้งเดิม เป็นสังคมที่มีการเจริญทางเทคโนโบยีต่ำ มีการติดต่อกันกับภายนอกไม่มากนัก และเป็นชุมชนขนาดเล็ก สมาชิก
หน้าที่เฉพาะทางสังคม ได้แก่
- - การมีสมาชิกใหม่แทนสมาชิกเก่าที่ได้เสียชีวิตไป เพื่อให้สังคมมีประชากรที่เหมาะสมและมีคุณภาพ เพื่อสร้างสรรค์สังคมให้คงอยู่ต่อไป
- - การอบรมสมาชิกในสังคมให้ปฏิบัติตนไปตามสถานะ สิทธิและหน้าที่ รวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม สร้างสรรค์สังคมให้มีความสงบสุข
- - กำหนดระเบียบแบบแผนเพื่อให้สมาชิกในสังคมใช้เป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกัน
- - ตอบสนอกความต้องการทางด้านต่างๆให้แก่สมาชิกในสังคม เช่นการสร้างความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การสร้างผลิตและแจกจ่ายสินค้าและบริการที่จำเป็นแก่สมาชิก การสร้างความสงบทางจิตใจเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้บุคคลมีศีลธรรมและจริยธรรมในการอยู่ร่วมกัน
สังคมมนุษย์สามารถจัดแบ่งประเภทออกได้หลายลักษณตามเกณฑ์ที่กำหนด และนักสังคมวิทยาได้จัดแบ่งมนุษย์ตามลักษณะความสัมพันธ์ของสมาชิกและลักษณะการดำรงชีวิต ออกเป็น 3 ประเภทดังนี้
1. สังคมดั้งเดิม เป็นสังคมที่มีการเจริญทางเทคโนโบยีต่ำ มีการติดต่อกันกับภายนอกไม่มากนัก และเป็นชุมชนขนาดเล็ก สมาชิก
ในสังคมมีความคุ้นเคยและรู้จักกันหมด อาชีพส่วนใหญ่มีอาชีพเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เป็นสังคมแบบพอเพียง ผลผลิตที่เหลือก็นำมาแลกเปลี่ยนหรือซือขายกัน
และสามารถสร้างสิ่งจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้ในสังคมของตนเอง มีความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์และผูกพันกับธรรมชาติ และยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณีและมีการร่วมกิจกรรมกัน
สังคมดั้งเดิมมักอยูในพื้นที่ที่มีลักษณะภูมิประเทศที่ติดต่อกับภายนอกได้ยาก
2. สังคมเกษตรกรรมหรือชุมชนชนบท ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีกทางการเกษตรมีความเป็นอยู่ผูกพันกับธรรมชาติ และมีกิจกรรมร่วมกันสมาชิกรักใคร่กลมเกลียวกัน
2. สังคมเกษตรกรรมหรือชุมชนชนบท ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีกทางการเกษตรมีความเป็นอยู่ผูกพันกับธรรมชาติ และมีกิจกรรมร่วมกันสมาชิกรักใคร่กลมเกลียวกัน
และให้ความสำคัญกับประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน การผลิตจะต่างจากการผลิตเพื่อพอยังชีพเป็นการผลิตเพื่อการจำหน่าย และมีการพัฒนาจากสังคมดั้งเดิมอย่างชัดเจน
วิธีการผลิตได้มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มากชึ้น แต่สมาชิกก็ยังพึ่งพาอาศัยกันช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นลักษณะของความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิมีความเป็นกันเอง
มีความเคร่งครัดในประเพณี ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมของชุมชน ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของสังคมเป็นไปอย่างช้า ๆ
3. สังคมเมืองและสังคมสมัยใหม่ ถือเป็นการวิวัฒนาการมาจากสังคมดั้งเดิมและสังคมเกษตรกรรม คนในสังคมเมืองจะประกอบอาชีพหลากหลายมากเพิ่มขึ้น เป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่
3. สังคมเมืองและสังคมสมัยใหม่ ถือเป็นการวิวัฒนาการมาจากสังคมดั้งเดิมและสังคมเกษตรกรรม คนในสังคมเมืองจะประกอบอาชีพหลากหลายมากเพิ่มขึ้น เป็นชุมชนที่มีขนาดใหญ่
มีคนอยู่กันหนาแน่นและแบ่งงานกันทำอย่างชัดเจน ยึดกฎและกติกาของสังคม มีความถนัดและมีความสามารถเฉพาะด้านของแต่ละบุคคล
ความสัมพันธ์ของคนในสังคมเมืองเป็นแบบทุติยภูมิคือถือผลประโยชน์เป็นหลักและให้ความสำคัญกับการสร้างประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม
ในสังคมจะยึดถือเหตุผลและกฎระเบียบในสังคมมากขึ้น การร่วมกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีลดน้อยลง สถานภาพของคนได้มาด้วยความสามารถมากกว่าในลักษณะสังคมดั้งเดิมและสังคมเกษตรกรรมชนบท
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น