โกดังให้เช่า
กับการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
แนวคิดที่มีความต่อเนื่องในการพัฒนาโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและให้คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและการสร้างสมดุล
เพื่อให้การพัฒนาและการบริหารเป็นไปในทางสายกลางที่มีการเชื่อมโยงของการพัฒนาอย่างบูรณาการ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเองกับความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก
ความสมดุลระหว่างสังคมชนบทและสังคมเมือง การพัฒนาจึงมุ่งเน้นการสร้างภูมิคุ้มกันในมิติต่าง ๆ เช่น ครอบครัว ชุมชนสังคม และประเทศชาติ
สินค้าแนะนำ : กล้องวงจรปิด
ใช้แนวคิดและทิศทางการพัฒนาสู่ความยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างฐานทางปัญญาเพื่อเป็นภูมิคุ้มกันและเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกอย่างรู้เท่าทัน
สร้างความยั่งยืนของภาคเกษตรและความมั่งคั่งด้านอาหารและพลังงาน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
รวมถึงการส่งเสริมระบบธรรมาภิบาลและความสมานฉันท์ในทุกระดับ ซึ่งเป็นฐานในการพัฒนาประเทศที่มั่นคงและสมดุลมุ่งสู่การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุขและเป็นธรรม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
แผนพัฒนาในฉบับที่ 12 ได้ให้ความสำคัญการกำหนดทิศทางการพัฒนามุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
1. กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมาย มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย จากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
แผนพัฒนาในฉบับที่ 12 ได้ให้ความสำคัญการกำหนดทิศทางการพัฒนามุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
1. กรอบวิสัยทัศน์และเป้าหมาย มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย จากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง
และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะยาว “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ
2. ตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศ ประเทศไทยมีรายได้สูงและมีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านขนส่งและโลจิสติกของภูมิภาคเป็นชาติการค้าและบริการ
2. ตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของประเทศ ประเทศไทยมีรายได้สูงและมีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม เป็นศูนย์กลางด้านขนส่งและโลจิสติกของภูมิภาคเป็นชาติการค้าและบริการ
เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย แหล่งอุตสาหกรรมสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
3. เป้าหมายของการพัฒนาประกอบด้วยเป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
- การหลุดพ้นจากกับดักประเทศำรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง เศรษฐกิจขยายตัว ผลิตภาพการผลิตเพิ่มขึ้นและการลงทุนมีการขยายตัว
- การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
- การลดความเลื่อมล้ำในสังคม การกระจายรายได้มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น การบริการทางสังคมมีคุณภาพและมีการกระจายอย่างทั่วถึง
- การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรสร้างสมดุลการอนุรักษ์
3. เป้าหมายของการพัฒนาประกอบด้วยเป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
- การหลุดพ้นจากกับดักประเทศำรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง เศรษฐกิจขยายตัว ผลิตภาพการผลิตเพิ่มขึ้นและการลงทุนมีการขยายตัว
- การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ
- การลดความเลื่อมล้ำในสังคม การกระจายรายได้มีความเท่าเทียมกันมากขึ้น การบริการทางสังคมมีคุณภาพและมีการกระจายอย่างทั่วถึง
- การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรสร้างสมดุลการอนุรักษ์
และการใช้ประโยชน์ขับเคลื่อนสู่เศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเพิ่มขีดความสามารถในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เพิ่มขีดความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการบริหารจัดการน้ำให้สมดุล
- การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ
- การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ
สินค้าแนะนำ : รั้วไฟฟ้า
4. แนวทางการพัฒนา
- การยกระดับศักยภาพการแข่งขันและการหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางสู่รายได้ที่สูงขึ้น การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาทางด้าน วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม จัดทำการส่งเสริมอุตสาหกรรม การพัฒนา ผลิตภาพแรงงาน เร่งลงทุนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมเพื่อเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจ
ในประเทศและต่างประเทศ การพัฒนาและปรับปรุงโครงข่ายรถไฟให้เป็นโครงข่ายหลักในการเดินทางและขนส่งของประเทศ
- การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัยและการปฏิรูประบบเพื่อสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ การพัฒนาศักยภาพของคนในทุกช่วงวัย
- การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัยและการปฏิรูประบบเพื่อสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ การพัฒนาศักยภาพของคนในทุกช่วงวัย
การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึงกัน การพัฒนาด้านสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุ
- การลดความเลื่อมล้ำทางสังคม สร้างโอกาสและยกระดับรายได้ในการประกอบอาชีพ การจัดการบริหารทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิขั้นพื้นฐาน
- การลดความเลื่อมล้ำทางสังคม สร้างโอกาสและยกระดับรายได้ในการประกอบอาชีพ การจัดการบริหารทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิขั้นพื้นฐาน
สร้างความเสมอภาคในการเข้าถึงทรัพยากร การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างเสมอภาค
- การรองรับการเชื่อมโยงของภูมิภาคและความเป็นเมือง การลงทุนด้านพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกของเมือง การพัฒนาด้านการขนส่งและโลจิสติกเชื่อมโยงกับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมการลงทุน การค้าชายแดน และจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
5. การสร้างความเจริญเติบทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การรักษาทุนทางธรรมชาติเพื่อใช้ประโยชน์โดยคำนึงถึงขีดจำกัด
- การรองรับการเชื่อมโยงของภูมิภาคและความเป็นเมือง การลงทุนด้านพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกของเมือง การพัฒนาด้านการขนส่งและโลจิสติกเชื่อมโยงกับเพื่อนบ้าน ส่งเสริมการลงทุน การค้าชายแดน และจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
5. การสร้างความเจริญเติบทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การรักษาทุนทางธรรมชาติเพื่อใช้ประโยชน์โดยคำนึงถึงขีดจำกัด
และศักยภาพการฟื้นตัวปกป้องรักษาทรัพยากรป่าไม้ สร้างระบบหมุนเวียนวัสดุที่ใช้แล้วที่มีประสิทธิภาพ การส่งเสริมการผลิต การลงทุน และการสร้างงานสีเขียว
การจัดการมลพิษและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงด้านภัยพิบัติ
6. การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความเป็นมืออาชีพและเพียงพอ เพื่อให้ระบบราชการเล็กแต่มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพสูง
6. การบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความเป็นมืออาชีพและเพียงพอ เพื่อให้ระบบราชการเล็กแต่มีความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพสูง
การพัฒนา อปท. ให้สามารถรับมือการเปลี่ยนแปลง การตรวจสอบและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการติดตาม และประเมินผลโครงการที่ใช้จ่ายงบประมาณมากและมีผลกระทบในวงกว้าง
สินค้าแนะนำ : สัญญาณกันขโมย
แนวทางการกำหนดทิศทางและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในการสร้างภูมิคุ้มกัน
- การพัฒนาคนและสังคมไทย สร้างภูมิคุ้มกันตั้งแต่คน ครอบครัว ชุมชน สู่สังคมที่มีคุณภาพ มีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
- การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน พัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศให้เข้มแข็ง และมีการเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ บนพื้นฐานการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รักษาสมดุลของระบบนิเวศบนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ และการเตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีองค์ประกอบหลัก 3 ประการ หรือเรียกว่า 3 ห่วง ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
การใช้หลักในองค์ประกอบทั้ง 3 จะต้องควบคู่กับ 2 เงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ ได้แก่ความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และเงื่อนไขคุณธรรม คือ ซื่อสัตย์สุจริต ขยัน อดทอน มีสติปัญญา และแบ่งปัน
การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการปฏิบัติตามหลักขององค์ประกอบ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องในการดำเนินชีวิตทั้งในระดับบุคคล ชุมชน และประเทศชาติ
การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการปฏิบัติตามหลักขององค์ประกอบ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องในการดำเนินชีวิตทั้งในระดับบุคคล ชุมชน และประเทศชาติ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น