กล้องจับขโมย กับสังคมโลกาภิวัตน์
กล้องจับขโมย สังคมโลกาภิวัตน์ ในปัจจุบันสังคมโลกาภิวัตน์เป็นสังคมโลกาภิวัตน์เป็นสังคมสมัยใหม่ เกิดขึ้นจากผลกระทบของเทคโนโบยียุคโลกาภิวัฒน์ที่มีข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็ว เครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัยและมีอิทธิพลต่อวิถีการดำเนินชีวิต และยังส่งเสริมการค้าเสรีให้ขยายตัวได้อย่างกว้างขวาง คนจึงหันมาให้สำคัญกับวัตถุนิยม
ทำให้เกิดการเปลี่ยแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว และนำไปสู่ความพังทลายของระบบวัฒนธรรม ภาษา ประเทศ และเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมแบบหพุวัฒนธรรม
ลักษณะส่วนต่าง ๆ ของสังคมที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ และดำรงอยู่ได้ตามสมควร มีความเชื่อมโยงและผูกพันธ์ระหว่างกัน มีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงมีความเป็นพลวัตอยู่เสมอ
ลักษณะส่วนต่าง ๆ ของสังคมที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ และดำรงอยู่ได้ตามสมควร มีความเชื่อมโยงและผูกพันธ์ระหว่างกัน มีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงมีความเป็นพลวัตอยู่เสมอ
โครงสร้างของสังคมเมืองมีองค์ประกอบแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน กลุ่มสังคม สถานภาพและบทบาท และสถาบันสังคม
กล้องจับขโมย กับสังคมโลกาภิวัตน์สินค้าแนะนำงานรักษาความปลอดภัยแบบเฝ้าระวัง : กล้องวงจรปิด |
1. กลุ่มสังคม คน 2 คนขึ้นไปที่ดำเนินชีวิตร่วมกัน มีการทำกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน และมีความรู้สึกเป็นสมาชิกของกลุ่ม
แต่กลุ่มคนที่ร่วมกันเป็นการชั่วคราวนั้นเราไม่เรียกว่าเป็นกลุ่มสังคมเพราะเป็นการร่วมกลุ่มกันแบบไม่มีระบบ กลุ่มสังคมมีการร่วมกิจกรรมอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน
มีความรู้สึกและสำนึกในการเป็นกลุ่มและมีความสามารถต่อเนื่อง เช่น กลุ่มครอบครัว กลุ่มสมาคม และกลุ่มขุมชนเมือง เป็นกลุ่มสังคมที่มีการจัดระเบียบไว้อย่างชัดเจน
สมาชิกในกลุ่มต่างมีตำแหน่งหน้าที่และบทบาทที่แตกต่างกันแต่ประสานบทบาทระหว่างกันในสังคม
2. สถานภาพและบทบาท ฐานะทางสังคมที่แต่ละคนได้รับจากการเป็นสมาชิกที่ได้มาตั้งแต่กำเนิด เช่น เพศ เชื้อชาติ พ่อ แม่ ลูก
2. สถานภาพและบทบาท ฐานะทางสังคมที่แต่ละคนได้รับจากการเป็นสมาชิกที่ได้มาตั้งแต่กำเนิด เช่น เพศ เชื้อชาติ พ่อ แม่ ลูก
และสถานภาพที่ได้มาจากความรู้ความสามารถซึ่งได้มาจากความพากเพียรพยายาม เช่น การดำรงตำแหน่งหน้าที่การงาน การศึกษา และรายได้
ส่วนบทบาททางสังคมคือพฤติกรรมที่กำหนดให้ผู้ที่ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ในสังคม บทบาทและหน้าที่ในสังคมดำเนินไปด้วยการอบรมเลี้ยงดูและให้ได้รับการศึกษา
และต้องมีความเคารพเชื่อฟังคำสั่งสอน ตั้งใจเล่าเรียน มีส่วนช่วยเหลืองานตามความสามารถ เป็นต้น
3. สถาบันทางสังคม มาตรฐานของสังคมที่เป็นแบบแผนและพฤติกรรมที่จัดตั้งอย่างมีระบบ เพื่อตอบสนองความต้องการและความจำเป็น
3. สถาบันทางสังคม มาตรฐานของสังคมที่เป็นแบบแผนและพฤติกรรมที่จัดตั้งอย่างมีระบบ เพื่อตอบสนองความต้องการและความจำเป็น
การดำเนินชีวิตในสังคมกำหนดสถานภาพและบทบาทของผู้เกี่ยวข้องอย่างเป็นระเบียบและเพื่อให้กิจกรรมไปสู่เป้าหมายอย่างราบรื่น สถาบันทางสังคมมีหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนและค่านิยมในสังคม
เพื่อตอบสนองประโยชน์ของสมาชิก สถาบันทางสังคมมีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการคือ กลุ่มคน วัตถุประสงค์ในการตอบสนองความต้องการของสังคม และแบบแผนการปฏิบัติของสมาชิกในสังคม
สินค้าแนะนำการรักษาความปลอดภัยขั้นสูง : รั้วไฟฟ้า
กล้องวงจรปิด |
สถาบันทางสังคมเกิดขึ้นจากสาเหตุสำคัญ ดังนี้
- การตอบสนองความต้องการของมนุษย์ทำให้เกิดการรวมกลุ่มสร้างความสัมพันธ์เพื่อตอบสนองความต้องการต่าง ๆ
- การเพิ่มจำนวนประชากร จึงรวมกลุ่มเป็นสถาบันทางสังคม เพื่อให้ทำหน้าที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์
- ความต้องการเครื่องมือสำคัญในการจัดระเบียบทางสังคม เพื่อรักษาบรรทัดฐานของสังคมและเป็นสิ่งที่ได้รับการยอมรับและเป็นความจำเป็นต่อสังคมให้ดำรงอยู่ต่อไป
- ความต้องการวัฒนธรรมอันเป็นรูปแบบหรือแบบอย่างของพฤติกรรมได้ทำสืบต่อกันมาช้านานและถือเป็นสิ่งจำเป็นในสังคม
- สติปัญญาของมนุษย์ที่เห็นความสำคัญของการดำเนินชีวิตร่วมกันให้มีความสงบสุขและเจริญก้าวหน้าในสังคม
- การขยายตัวของสังคม เป็นผลมาจากความเจริญทางด้านต่าง ๆ ทำให้สถาบันสังคมไม่สามารถตอบสนองความต้องการของสมาชิกได้ครบถ้วน ทำให้เกิดสถาบันสังคมใหม่ขึ้นอยู่เสมอ
โดยทั่วไปสถาบันทางครอบครัวจะประกอบไปด้วยสถาบันที่สำคัญ 5 สถาบัน ได้แก่
1. สถาบันครอบครัว เป็นรากฐานของระบบสังคมเป็นสถาบันแรกที่มีความสำคัญและมีความผูกพันอย่างยิ่ง เราสามารถจำแนกประเภทของครอบครัวที่ประกอบไปด้วย พ่อ แม่ ลูก
ส่วนครอบครัวขยายนั้นจะประกอบไปด้วย พ่อ แม่ ลูก และรวมถึงญาติพี่น้องทที่พึ่งพากันอยู่ในครอบครัว สถาบันครอบครัวมีบทบาทและหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในครอบครัวให้เหมาะสม
การเลี้ยงดูสมาชิกให้พ้นจากอันตรายและเติบโตอย่างมีคุณภาพเป็นคนดีของสังคม การอบรมปลูกฝังนิสัยที่ดีและมีคุณธรรม การให้ความรัก ความอบอุ่น และให้กำลังใจเพื่อให้มีความมั่นคงทางจิตใจ
การเลี้ยงดูสมาชิกให้พ้นจากอันตรายและเติบโตอย่างมีคุณภาพเป็นคนดีของสังคม การอบรมปลูกฝังนิสัยที่ดีและมีคุณธรรม การให้ความรัก ความอบอุ่น และให้กำลังใจเพื่อให้มีความมั่นคงทางจิตใจ
มีหน้าที่รักษาและถ่ายทอดวัฒนธรรมทางสังคมเพื่อเป็นแบบแผนของการดำเนินชีวิตและทำให้วัฒนธรรมในสังคมดำรงอยู่ต่อไป
2. สถาบันเศรษฐกิจ ถือเป็นความจำเป็นทางด้านพื้นฐานเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่ต้องการความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น การผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก
2. สถาบันเศรษฐกิจ ถือเป็นความจำเป็นทางด้านพื้นฐานเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่ต้องการความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น การผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก
การแลกเปลี่ยน และการบริโภค แต่ละสังคมอาจจะมีรูปแบบที่แตกต่างกันแต่มีเป้าหมายที่เหมือนกันก็คือการกินดีอยู่ดีของสมาชิกในสังคม
โดยทั่วไปสถาบันเศรษฐกิจมีบทบาทหน้าที่ในการตัดสินใจว่าจะผลิตสินค้าและบริการชนิดใด ผลิตสินค้ามากน้อยเพียงใด และใช้การผลิตอย่างไร แบ่งปันผลผลิตที่ได้สร้างขึ้นมานั้นอย่างไรเพื่อให้ไปถึงผู้บริโภค
3. สถาบันทางการเมืองและการปกครอง เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้งความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองในสังคมของสมาชิก
โดยทั่วไปสถาบันเศรษฐกิจมีบทบาทหน้าที่ในการตัดสินใจว่าจะผลิตสินค้าและบริการชนิดใด ผลิตสินค้ามากน้อยเพียงใด และใช้การผลิตอย่างไร แบ่งปันผลผลิตที่ได้สร้างขึ้นมานั้นอย่างไรเพื่อให้ไปถึงผู้บริโภค
3. สถาบันทางการเมืองและการปกครอง เพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สิน รวมทั้งความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองในสังคมของสมาชิก
ระบบการเมืองและการปกครองนั้นในแต่ละสังคมต่างมีแบบแผนที่แตกต่างกันแต่ก็มีเป้าหมายเดียวกันคือการสร้างความมั่นคง ความเจริญรุ่งเรือง และความสงบสุขในสังคม
ในปัจจุบันระบบการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองเป็นแบบการปกครองประชาธิปไตย สถาบันการเมืองและการปกครองมีบทบาทหน้าที่รักษาความมั่นคงปลอดภัยของชาติ
ในปัจจุบันระบบการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองเป็นแบบการปกครองประชาธิปไตย สถาบันการเมืองและการปกครองมีบทบาทหน้าที่รักษาความมั่นคงปลอดภัยของชาติ
บำบัดทุกข์ บำรุงสุขให้ราษฎร ส่งเสริมและพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ จัดให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่งเสริมและใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัดและคุ้มค่า
4. สถาบันศาสนา เป็นความเชื่อและเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางศรัทธาและเป็นที่พึ่งทางใจของสมาชิกในสังคม ที่ประกอบด้วย ศาสดาผู้ก่อตั้งศาสนา คำสอน
4. สถาบันศาสนา เป็นความเชื่อและเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางศรัทธาและเป็นที่พึ่งทางใจของสมาชิกในสังคม ที่ประกอบด้วย ศาสดาผู้ก่อตั้งศาสนา คำสอน
พิธีกรรม และศาสนสถานที่เป็นสถานที่ที่พึงเคารพนับถือ สถาบันทางศานามีหน้าที่สร้างพื้นฐานทางศีลธรรมให้แก่สังคม
เป็นพื้นฐานสำคัญของอำนาจรัฐในการปกครอง จัดกิจกรรมทางศาสนาเพื่อก่อให้เกิดสมาคมและนันทนาการในหมู่ประชาชน
เป็นพื้นฐานสำคัญของอำนาจรัฐในการปกครอง จัดกิจกรรมทางศาสนาเพื่อก่อให้เกิดสมาคมและนันทนาการในหมู่ประชาชน
ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นประโยชน์ในการอยู่ร่วมกันในสังคม และเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจให้แก่สมาชิกในสังคม
5. สถาบันการศึกษา เป็นแบบแผนที่เกี่ยวกับการอบรมความคิดความรู้ให้แก่สมาชิกในสังคม รวมถึงทักษะ เพื่อให้สมาชิกในสังคมเป็นคนดีก่อให้เกิดความเจริญงอกงามทางปัญญา จิตใจ สังคม และร่างกาย
5. สถาบันการศึกษา เป็นแบบแผนที่เกี่ยวกับการอบรมความคิดความรู้ให้แก่สมาชิกในสังคม รวมถึงทักษะ เพื่อให้สมาชิกในสังคมเป็นคนดีก่อให้เกิดความเจริญงอกงามทางปัญญา จิตใจ สังคม และร่างกาย
และเป็นการสร้างสมและเป็นการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคม สถาบันทางการศึกษาควรมีการขัดเกลาทางสังคม
การจัดสรรบทบาท การถ่ายทอดวัฒนธรรม การกำหนดความสามารถเฉพาะทาง และการมีบทบาทในการนำการเปลี่ยนแปลงเพื่อทำให้สังคมดีขึ้น
การจัดสรรบทบาท การถ่ายทอดวัฒนธรรม การกำหนดความสามารถเฉพาะทาง และการมีบทบาทในการนำการเปลี่ยนแปลงเพื่อทำให้สังคมดีขึ้น
และได้มีการฝึกทักษะการเรียนรู้ที่จำเป็นและการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการดำเนินชีวิตรวมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น