การทำงานกล้องวงจรปิด
การทำงานกล้องวงจรปิด หน้าที่ของผู้ดูแลเครือข่าย มีหน้าที่ติดตั้ง คอนฟิก เฝ้ามอนิเตอร์ และซ่อมบำรุงรักษาระบบเครือข่ายห้าทิ่สามารถใช้งานได้ ผู้ดูแลต้องสามารถควบคุมสิทธิ์ของผู้ที่จะใช้งานและป้องกันและรักษาความปลอดภัยในเครือข่ายได้ รวมทั้งต้องมีความรู้ความชำนาญเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี
และต้องมีทักษะในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงทีหากไม่สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้
การทำงานกล้องวงจรปิด |
อาจส่งผลเสียร้ายแรงต่อองค์กร เช่น เกิดการยุกรุกทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็ต้องสามารถหาวิธียับยั้งการบุกรุกโจมตีให้ได้โดยเร็ว หรือ
เมื่อเกิดปัญหาของไวรัสที่แพร่กระจายอยู่ในเครือข่ายขององค์กรก็ต้องสามารถหาทางแก้ไขปัญหาไม่ให้ไวรัสนั้นแพร่กระจายหรือลดการกระจายให้น้อยที่สุด
เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียหายที่ร้ายแรงต่อการปฏิบัติงานในองค์กร ผู้ดูแลระบบควรต้องมีเครื่องมือที่จะช่วยในการวิเคราะห์และค้นหาสาเหตุของปัญหา เพื่อทำให้การแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น
องค์การมาตรฐานนานาชาติ ISO ได้กำหนดแบบเพื่อเป็นแนวทางสำหรับการบริหารเครือข่ายอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย 5 หัวข้อดังนี้
1. การบริหารประสิทธิภาพ เพื่อให้อุปกรณ์เครือข่ายทำงานได้เต็มประสิทธิภาพและมีแบนด์วิธเพียงพอต่อ ความต้องการ ประสิทธิภาพของเครือข่ายนั้นเกี่ยวข้องกับมอนิเตอร์ การประเมิน
องค์การมาตรฐานนานาชาติ ISO ได้กำหนดแบบเพื่อเป็นแนวทางสำหรับการบริหารเครือข่ายอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย 5 หัวข้อดังนี้
1. การบริหารประสิทธิภาพ เพื่อให้อุปกรณ์เครือข่ายทำงานได้เต็มประสิทธิภาพและมีแบนด์วิธเพียงพอต่อ ความต้องการ ประสิทธิภาพของเครือข่ายนั้นเกี่ยวข้องกับมอนิเตอร์ การประเมิน
และการปรับค่าคอนฟิกต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับการทำยัญชีคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่าย ไปจนถึงเส้นทางข้อมูลผ่านอุปกรณ์เครือข่ายต่าง ๆ
2. การบริหารข้อผิดพลาด เพื่อให้การบริการแก่ผู้ใช้ อุปกรณ์เครือข่ายที่เป็นฮาร์ดแวร์ เช่น สวิตช์ เราท์เตอร์ ล้วนแล้วแต่มีอายุใช้งาน
2. การบริหารข้อผิดพลาด เพื่อให้การบริการแก่ผู้ใช้ อุปกรณ์เครือข่ายที่เป็นฮาร์ดแวร์ เช่น สวิตช์ เราท์เตอร์ ล้วนแล้วแต่มีอายุใช้งาน
เมื่อใช้ไปได้สักพักก็จะเสีย หรือเสื่อมคุณภาพ และมีผลกระทบทำให้ เข้อขัดข้อง คือ การเฝ้าระวัง ตรวจสอบ และแก้ปัญหา เพื่อให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
3. การบริหารคอนฟิกกูเรชัน เนื่องจากเครือข่ายมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การจัดเก็บค่าคอนฟิกต่าง ๆ ของอุปกรณ์เครือข่าย เช่น สวิตช์ เราท์เตอร์
3. การบริหารคอนฟิกกูเรชัน เนื่องจากเครือข่ายมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การจัดเก็บค่าคอนฟิกต่าง ๆ ของอุปกรณ์เครือข่าย เช่น สวิตช์ เราท์เตอร์
จะช่วยในการติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ทดแทนของเก่าที่เสีย นอกจากนี้การเก็บพวกเอกสารเกี่ยวกับเครือข่ายรวมถึงพวกคู่มือการติดตั้งและการใช้งานของอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ
เพราะเมื่อเวลาผ่านไป ถ้าไม่ได้ใช้งานบ่อย ๆ ก็อาจจะลืมได้ อย่างน้อยเอกสารอ้างอิงก็จะช่วยให้การแก้ปัญหาได้เร็วขึ้น
4. การบริหารบัญชีผู้ใช้ การควบคุมการใช้งานทรัพยาการเครือข่ายของผู้ใช้ ซึ่งอาจใช้เพื่อการเก็บค่าบริการ รวมถึงการกำหนดสิทธิและการควบคุม
4. การบริหารบัญชีผู้ใช้ การควบคุมการใช้งานทรัพยาการเครือข่ายของผู้ใช้ ซึ่งอาจใช้เพื่อการเก็บค่าบริการ รวมถึงการกำหนดสิทธิและการควบคุม
การพิสูจน์ตัวตน บัญชีผู้ใช้นั้นอาจถูกเก็บไว้ในระบบจัดการผู้ใช้ สิ่งที่สำคัญเกี่ยวกับการบริหารผู้ใช้งาน คือ การเก็บล็อกกิจกรรมต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ทำในเครือข่าย
และยังเป็นสิ่งที่อาจช่วยในการตรวจสอบการกระทำต่าง ๆ ของผู้ใช้หรือเฮกเกอร์ที่อาจมีผลกระทบต่อเครือข่าย
5. การบริหารการรักษาความปลอดภัย การควบคุมการเข้าใช้ทรัพยากรเครือข่าย การรักษาความปลอดภัยจะเริ่มจากการบริหารบัญชีผู้ใช้งาน
5. การบริหารการรักษาความปลอดภัย การควบคุมการเข้าใช้ทรัพยากรเครือข่าย การรักษาความปลอดภัยจะเริ่มจากการบริหารบัญชีผู้ใช้งาน
ซึ่งรวมถึงการแพร่ระบาดของไวรัสหรือมัลแวร์จากเฮคเกอร์ทั้งนอกและในเครือข่าย บางหน่วยงานให้ความสำคัญอย่างมากกับการรักษาความปลอดภัยในเครือข่าย เพราะอาจมีระบบสารสนเทศที่สำคัญอย่างยิ่งต่อองค์กรนั้น ๆ
ระบบรักษาความปลออภัยขั้นสูง : รั้วไฟฟ้ากันขโมย
การจัดการบัญชีผู้ใช้ ควรต้องมีการวางแผนเกี่ยวกับการที่จะอนุญาตให้ใครเข้าใช้ระบบเครือข่ายได้บ้าง รวมถึงการเข้าใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่ายนั้น ๆ ด้วย
ระบบเหล่านี้จะใช้เป็นฐานข้อมูลที่จัดเก็บบัญชีผู้ใช้ของเครือข่าย เพื่อพิสูจน์ทราบสิทธิ์ของผู้ใช้คนนั้น หลังจากล็อกอินเข้าไปแล้วเพื่อคำนวณออกมาเป็นข้อมูลทางด้านสถิติ เช่น การเข้าใช้งานอินเทอร์เน็ตซึ่งอาจมีแบนด์วิธที่จำกัด เป็นต้น
การจัดการทรัพยากร เพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเป็นการจัดการที่ใช้เวลาค่อนข้างมากสำหรับผู้ดูแลระบบ การจัดการเริ่มต้นจากการตั้งชื่อให้กับเซิร์ฟเวอร์ โฮสต์ เป็นต้น
การจัดการทรัพยากร เพื่อการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และเป็นการจัดการที่ใช้เวลาค่อนข้างมากสำหรับผู้ดูแลระบบ การจัดการเริ่มต้นจากการตั้งชื่อให้กับเซิร์ฟเวอร์ โฮสต์ เป็นต้น
การตั้งชื่อควรมีความหมายเกี่ยวกับทรัพยากรนั้น ๆ การตั้งชื่อควรอธิบายที่ตั้งและจุดประสงค์ของอุปกรณ์เหล่านั้น ขั้นตอนต่อไปก็เป็นการกำหนดสิทธิ์ให้ผู้ใช้ที่จะเข้ามาใช้ทรัพยากรเหล่านั้นโดยกำหนดให้เป็นกลุ่มผู้ใช้
ข้อขัดข้องภายในระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายนั้นเป็นอะไรที่ซับซ้อนมาก ประกอบด้วยชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่ผลิตโดยหลายบริษัทและบางทีอาจทำให้สับสนในบางส่วนได้
ข้อขัดข้องภายในระบบเครือข่าย ระบบเครือข่ายนั้นเป็นอะไรที่ซับซ้อนมาก ประกอบด้วยชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่ผลิตโดยหลายบริษัทและบางทีอาจทำให้สับสนในบางส่วนได้
เครือข่ายก็เช่นกันอาจมีบางส่วนที่จะเป็นสาเหตุของปัญหาซึ่งจะมีผลต่อระบบโดยรวมได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามก็อาจทำให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบได้เหมือนกันอย่างแน่นอน
โดยเฉพาะปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพของเครือข่าย ผู้ดูแลระบบจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเข้าใจปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น และต้องเรียนรู้และงสามารถแก้ไขได้ เช่น อุปกรณ์เครือข่ายเสีย
สายสัญญาณขาด แบนด์วิธเต็ม การชนกันของแพ็กเก็ต การใช้โปรโตคอลที่มีประสิทธิภาพต่ำ ข้อจำกัดของฮาร์ดแวร์ ข้อมูลขยะ การแพร่ระบาดของไวรัส ปัญหาเกี่ยวกับแอดเดรส เป็นต้น
เครื่องมือสำหรับการดูแลระบบเครือข่าย เรามารู้จักกับเครื่องมือและเทคนิคที่จะช่วยในการค้นหาสาเหตุของปัญหาต่าง ๆ โดยปกติอุปกรณ์เครือข่าย เช่น เราท์เตอร์ สวิตช์
เครื่องมือสำหรับการดูแลระบบเครือข่าย เรามารู้จักกับเครื่องมือและเทคนิคที่จะช่วยในการค้นหาสาเหตุของปัญหาต่าง ๆ โดยปกติอุปกรณ์เครือข่าย เช่น เราท์เตอร์ สวิตช์
หรือแม้กระทั่งระบบปฏิบัติการที่รองรับการทำงานผ่านเครือข่าย มักจะมีเครื่องมือพื้นฐานสำหรับการบริหารจัดการเครือข่าย แต่การใช้เครื่องมือเล่านี้อาจจำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านเครือข่าย เพื่อจะได้เข้าใจและสามารถค้นหาต้นเหตุของปัญหาได้
ระบบบริหารจัดการเครือข่าย หน้าที่ของผู้บริหารเครือข่าย คือ การเฝ้าระวัง ทดสอบ ตรวจเช็คสถานภาพ และควบคุมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของเครือข่าย ระบบบริหารจัดการเครือข่ายจะช่วยให้งานของผู้บริหารเครือข่ายง่ายขึ้น
องค์ประกอบของระบบบริหารจัดการเครือข่าย โครงสร้างระบบบริหารเครือข่ายประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
· อุปกรณ์เครือข่ายที่สามารถจัดการได้
· เอเจนต์
· ระบบบริหารจัดการเครือข่าย
ระบบบริหารจัดการเครือข่าย หน้าที่ของผู้บริหารเครือข่าย คือ การเฝ้าระวัง ทดสอบ ตรวจเช็คสถานภาพ และควบคุมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของเครือข่าย ระบบบริหารจัดการเครือข่ายจะช่วยให้งานของผู้บริหารเครือข่ายง่ายขึ้น
องค์ประกอบของระบบบริหารจัดการเครือข่าย โครงสร้างระบบบริหารเครือข่ายประกอบด้วย 3 ส่วนคือ
· อุปกรณ์เครือข่ายที่สามารถจัดการได้
· เอเจนต์
· ระบบบริหารจัดการเครือข่าย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น