กับการป้องกันการทำงานในลักษณะพื้นที่ต่างๆ
วิธีการป้องกันรักษาโดยทั่วไป ใช้ยาปรับสภาพผิวบรรเทาอาการ และครีมสเตียรอยด์ ถ้ายังไม่ได้ผลอาจจะต้องใช้ยากลุ่มอื่นและที่สำคัญก็คือจะต้องกำจัดสาเหตุ
และสภาพที่อาจทำให้เกิดอาการของโรคผิวหนัง ส่วนสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคผิวหนังนั้นได้แก่ สารเคมี การสัมผัสสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
- สาเหตุจากสารเคมี ในโรงงานอุตสาหกรรมมีการนำเอาสารเคมีที่เป็นพิษมาใช้ในการผลิตสินค้าต่าง ๆ และสามารถก่อให้เกิด
- สาเหตุจากสารเคมี ในโรงงานอุตสาหกรรมมีการนำเอาสารเคมีที่เป็นพิษมาใช้ในการผลิตสินค้าต่าง ๆ และสามารถก่อให้เกิด
อาการทางผิวหนังรวมทั้งระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ระบบประสาท ระบบโลหิต และระบบภูมิแพ้ของร่างกาย
- สาเหตุจากการสัมผัส การจับหรือสัมผัสเสียดสีกับสารเคมีโดยตรงซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองต่อผิวหนังเป็นประจำทำให้เกิดอาการคัน และเมื่อเกาก็อาจทำให้ผิวหนังเกิดบาดแผลมีโอกาสติดเชื้อโรคอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น
- สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อาจได้รับจากการเกิดความร้อน จนทำให้ผิวหนังพุพอง อักเสบ หรือการได้รับความเย็นเป็นเวลานาน
- สาเหตุจากการสัมผัส การจับหรือสัมผัสเสียดสีกับสารเคมีโดยตรงซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองต่อผิวหนังเป็นประจำทำให้เกิดอาการคัน และเมื่อเกาก็อาจทำให้ผิวหนังเกิดบาดแผลมีโอกาสติดเชื้อโรคอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น
- สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อาจได้รับจากการเกิดความร้อน จนทำให้ผิวหนังพุพอง อักเสบ หรือการได้รับความเย็นเป็นเวลานาน
จนทำให้เนื้อตาย หรือการตากแดดนาน ๆ จนทำให้ผิวหนังไหม้และเป็นมะเร็งที่ผิวหนังได้ในที่สุด
- สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เกิดจากการได้รับสารชีวภาพ เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา และปรสิต ทำให้เกิดโรคผิวหนัง เช่น เห็บและไร ทำให้ผิวหนังเกิดอาการคัน
- สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เกิดจากการได้รับสารชีวภาพ เช่น แบคทีเรีย เชื้อรา และปรสิต ทำให้เกิดโรคผิวหนัง เช่น เห็บและไร ทำให้ผิวหนังเกิดอาการคัน
และโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา และที่พบบ่อยคือ โรคกลากเกลื้อน เกิดจากการทำความสะอดาร่างกายไม่เพียงพอ และบางครั้งอาจเกิดจากอาการแพ้อุจจาระของตัวไรฝุ่น
คนที่มีอาชีพทีมือและเท้าจะต้องเปียกอยู่ตลอดเวลา น้ำจะทำให้เล็บและเนื้อเปื้อยอาจเกิดอาการอักเสบบวมแดง อาจมีหนอง และติดเชื้อราได้
สินค้าแนะนำ : กล้องวงจรปิด
วิธีการป้องกันโรคผิวหนังจากการทำงานได้แก่
- การเลือกใช้สารเคมีที่ปลอดภัยที่สุด
- ต้องหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดโรคผิวหนัง
- ต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
- ต้องทำความสะอาดผิวหนังทันทีและถูกต้องหลังจากสัมผัสสารเคมี
- ควรดูแลเอาใจใส่ผิวหนังให้สะอาดอยู่เสมอ
อุปกรณ์รักษาความปลอดภัย : รั้วไฟฟ้ากันขโมย
เพิ่มคำอธิบายภาพ |
โรคกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ เป็นโรคที่เส้นประสาทถูกกดทับจนเกิดอาการปวดชาและมีอาการอื่น ๆ ซึ่งบริเวณนี้จะมีลักษณะเป็นโพรงหรืออุโมงค์ที่ประกอบไปด้วยผนังด้านหน้าได้แก่เอ็น
และผนังด้านหลังได้แก่กระดูกข้อมือ ถ้าโพรงนี้ตีแคบจากสาเหตุใดก็ตาม จะทำให้เกิดการกดทับเส้นประสาททำให้เกิดอาการวปวดชาบริเวณนิ้วหัวมือมือถึงนิ้วนาง
อาการของโรคเกิดจากการใช้งานหนักหรือการทำงานที่เกี่ยวกับเครื่องมือที่มีการสั่นสะเทือนหรือการทำงานแบบซ้ำ ๆ ก็อาจทำให้เกิดการกดทับเส้นประสาทจนเกิดอาการปวดชาได้เช่นกัน
โรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม เกิดจากการที่สายตาที่มุ่งเน้นจ้องบนจอคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ อาการของโรคทำให้เกิดอาการปวดศรีษะ
อาการของโรคเกิดจากการใช้งานหนักหรือการทำงานที่เกี่ยวกับเครื่องมือที่มีการสั่นสะเทือนหรือการทำงานแบบซ้ำ ๆ ก็อาจทำให้เกิดการกดทับเส้นประสาทจนเกิดอาการปวดชาได้เช่นกัน
โรคคอมพิวเตอร์วิชั่นซินโดรม เกิดจากการที่สายตาที่มุ่งเน้นจ้องบนจอคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ อาการของโรคทำให้เกิดอาการปวดศรีษะ
ตาพร่ามัว ปวดต้นคอ ตาแดง เมื่อยล้า ปวดตา ตาแห้ง และระคายเคืองตา เห็นเป็นภาพซ้อน เวียนศรีษะ เป็นต้น อาการต่าง ๆ เหล่านี้อาจจะกำเริบเมื่อแสงสว่างไม่เหมาะสม เป็นต้น
การบำบัดโรค อาการหลักของโรคนี้จะมีอาการตาแห้ง ในการรักษาจะใช้น้ำตาเทียมหยอดตา สามารถลดผลกระทบจากอาการตาแห้งได้
การบรรเทาอาการปวดตามีข้อแนะนำให้คนที่ทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นประจำให้กระพริบตาอยู่ตลอดเวลา และให้มองออกไปไกล ๆ ยังวัตถุที่อยู่ด้านนอก
หรือมองไปบนท้องฟ้า การทำเช่นนี้เพื่อเป็นการทำให้กล้ามเนื้อตาได้ปรับเลนส์สายตา หรือให้หลับตาอย่างน้อยทุกครึ่งชั่วโมงของการทำงาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น