กล้องวงจรปิด

รูปภาพของฉัน
บริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ติดตั้ง รับประกันผลงานตลอดอายุการใช้งาน กล้องวงจรปิด รั้วไฟฟ้า สัญญาณกันขโมย สอบถามได้ที่ Line ID : @CctvBangkok.com

วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

กล้อง Hiview ในการส่งสัญญาณข้อมูลภาพ


กล้อง Hiview ในการส่งสัญญาณข้อมูลภาพ


รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล    (Transmission   Mode)
               การส่งข้อมูลหรือทิศทางการเคลื่อนที่ของข้อมูล   มีอยู่   4  รูปแบบด้วยกัน   คือ   แบบทิศทางเดียว   แบบกึ่ง  2  ทิศทาง    แบบ  2  ทิศทาง  และ  แบบสะท้อนสัญญาณ

แบบทิศทางเดียว   (Simplex)
                   การส่งข้อมูลไปยังผู้รับเพียงอย่างเดียว   โดยผู้รับไม่สามารถตอบโต้หรือตอบกลับได้   เช่น  คีย์บอร์ด  วิทยุกระจายเสียง   กล้องวงจรปิด เป็นต้น
แบบกึ่ง   2  ทิศทาง   (Half – Duplex)
                   การส่งข้อมูลไปยังผู้รับและผู้รับก็สามารถตอบกลับได้   คล้ายวอกกี้ทอคกี้   โดยผู้รับไม่สามารถตอบโต้หรือตอบกลับในขณะที่ผู้ส่งส่งข้อมูลมาอยู่ได้   ต้องรอให้ผู้ส่งส่งข้อมูลเสร็จเรียบร้อยก่อนจึงจะตอบกลับได้   คือไม่สามารถส่งข้อมูลสวนกันได้ อย่างเช่น วอร์ของตำรวจ หรือ กล้อง
แบบ  2  ทิศทาง   (Full – Duplex)
                   การส่งข้อมูลไปยังผู้รับและผู้รับก็จะสามารถตอบกลับได้   การส่งข้อมูลสามารถสวนกันได้   โดยอาจจะเป็นแบบมี  2  สาย หรือสายเดียวก็ได้  เช่น  โทรศัพท์   เป็นต้น
แบบสะท้อนสัญญาณหรือเอ็กโคเพล็กซ์  (Echo  Plex)
                   การพิมพ์ข้อความหรือคำสั่งเพื่อให้โฮสต์คอมพิวเตอร์รับข้อความหรือทำตามคำสั่งข้อความก็จะปรากฏขึ้นที่จอภาพของเทอร์มินัลด้วยเช่นกัน  ขณะที่สัญญาณตัวอักขระที่ถูกส่งจากที่พิมพ์ไปยังโฮสต์ซึ่งเป็นแบบดูเพล็กซ์เต็ม   จะถูกสะท้อนสัญญาณให้กลับมาปรากฏที่จอภาพของเทอร์มินัลเองด้วย   ทำให้ผู้ใช้สามารถรู้สึกไปพร้อม      กันกับที่โฮสต์ทำงาน



พื้นฐานการสื่อสารวงจรปิด
                   พื้นฐานของการสื่อสารมีช่องทางอยู่   2  ชนิด  คือ  ช่องทางอนาล็อก  สำหรับการส่ง – รับข้อมูล  ที่เป็นสัญญาณอนาล็อก   และช่องทางดิจิตอล  สำหรับส่ง – รับข้อมูลที่เป็นสัญญารดิจิตอลกล้องไอพี

การเบาบางของสัญญาณ  (Signal  Attenuation)
                  สาเหตุที่ทำให้พลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนเกิดจากความต้านทางของช่องทางสื่อสาร   ซึ่งจะแผ่ความร้อนสูงสู่สภาพแวดล้อมข้างเคียง   และนี่คือสาเหตุของการลดลง  หรือเบาบางลงของสัญญาณข้อมูล   ยิ่งเดินทางเป็นระยะทางไกลเท่าไร   สัญญาณก็ยิ่งเบาบางลงเท่านั้น

แบนด์วิธหรือแถบความถี่   (Bandwidth)
                    ขีดจำกัดที่ช่องทางการสื่อสารสามารถนำข่าวสารหรือข้อมูลผ่านช่องทางในช่วงเวลาที่กำหนดแบนด์วิธ   ในขณะเดียวกันคำว่าความถี่ก็จะเกี่ยวเนื่องกับสัญญาณอนาล็อก   หรือช่วงที่เป็นค่าความต่างระหว่างความถี่ต่ำสุดและความถี่สูงสุดของสัญญาณอนาล็อก   ความถี่นี้จะมีหน่วยเป็นรอบต่อวินาทีหรือเฮิรตซ์  (Hertz)

ช่องทางบรอดแบนด์และเบสแบนด์    (Broadband   and   Baseband   Channel)
                เมื่อช่องทางนั้นสามารถส่งผ่านสัญญาณอนาล็อกได้หลาย    สัญญาณ    ซึ่งแต่ละสัญญาณมีความถี่ต่างกันได้ในเวลาเดียวกัน   สำหรับช่องทางดิจิตอลซึ่งใช้สำหรับส่งผ่านสัญญาณดิจิตอลนั้น   ซึ่งเทคนิคการส่งสัญญาณมีหลายวิธี   แต่วิธีที่นิยมกันมากที่สุดคือการส่งข้อมูลเป็นบิต  หรือตัวเลขไบนารี่   ซึ่งส่วนใหญ่จะเทียบกับสัญญาณว่า  บิตที่เป็น  1   จะมีความต่างศักย์เท่ากับ  +5  Vcd  และบิตที่เป็น  0  จะมีค่าความต่างศักย์เท่ากับ  -5Vcd

อัตราบิตและอัตราบอด   (Bit   Rate   and   Baud   Rate)
                อัตราบิต   คือ   จำนวนของบิตที่ช่องทางสามารถผ่านได้ภายใน   1   วินาที    มีหน่วยเป็นบิต / วินาที   อัตราความเร็วของการส่งผ่านข้อมูล  
               อัตราบอด  คือ    จำนวนสัญญาณดิจิตอลหรืออนาล็อกซึ่งถูกเปลี่ยนเป็นดิจิตอลเหมือนกล้องไอพีคาเมร่าแล้ว   ที่ส่งผ่านไปในช่องทางการสื่อสารภายใน   1    วินาที   มีหน่วยเป็นบอด / วินาที

อัตราบิตของบรอดแบนด์และเบสแบนด์
                        ข้อแตกต่างความจุของบรอดแบนด์และเบสแบนด์     การเพิ่มจำนวนของอัตราบิตในช่องทางบรอดแบนด์เราสามารถเพิ่มอัตราบิตได้โดยการเพิ่มจำนวนบิตเข้าไปในช่องทาง   โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงแบนด์วิธของช่องทางเลย   แต่ในช่องทางเบสแบนด์นั้นตรงกันข้าม   เนื่องจากมีอัตราบิตตายตัวจึงไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้  สัญญาณดิจิตอลที่ผ่านมาในช่องทางเบสแบนด์จะใช้ช่องทางเต็มแบนด์วิธ     มีวิธีเดียวในการเพิ่มอัตราบิตในช่องเบสแบนด์ได้คือ ลดเวลาในแต่ละบิตลง  ทำให้เวลาเท่าเดิมสามารถมีบิตมากขึ้นได้

สัญญาณ
                สัญญาณในระบบสื่อสารเป็น  2  ประเภท  คือ  สัญญาณอนาล็อก  และ  สัญญาณดิจิตอล   สัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณที่มีขนาดเป็นค่าต่อเนื่อง   ส่วนสัญญาณดิจิติลเป็นสัญญาณที่มีขนาดเปลี่ยนแปลงเป็นค่าของเลขลงตัวขึ้นอยู่กับว่าเราใช้แบบไหน เช่น กล้องติดบ้าน กล้องสอดแนม 
                กระแสไฟฟ้าเป็นกระแสตรงและกระแสสลับ  หลายคนอาจคิดว่าไม่ส่วนเกี่ยวข้องกับระบบสื่อสารโทรคมนาคม   การไหลของไฟฟ้ากระแสตรงในวงจรอย่างสม่ำเสมอไม่สามารถส่งข่าวสารได้   แต่เมื่อไรที่ทำการควบคุมกระแสให้เป็นพัลส์โดยการเปิดสวิตซ์   กระแสจะลดลงสู่ศูนย์และปิดสวิตซ์กระแสก็จะมีค่าหนึ่ง  พัลส์ของกระแสถูกผลิตตามรหัสที่ใช้แทนแต่ละตัวอักษรหรือตัวเลขโดยการรวมของพัลส์  การทำงานของสวิตซ์สามารถส่งข้อความใด    ได้   ได้แก่  รหัสมอร์ส  เป็นต้น  ส่วนกระแสไฟฟ้าสลับในรูปของคลื่นอยู่ในจำพวกคลื่นวิทยุมีการใช้งานอย่างกว้างขวางเป็นที่รู้จักกันดี

การส่งสัญญาณ   Analog  และ Digital
1.     สัญญาณแบบ   Analog     เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง  ค่าเปลี่ยนแปลงของระดับสัญญาณจะมีความหมาย   การส่งสัญญาณจะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่ายกว่า  เนื่องจากค่าทุกค่าที่ถูกนำมาใช้งาน    ซึ่งสัญญาณแบบอนาล็อกจะเป็นสัญญาณที่สื่อกลางในการสื่อสารส่วนมากใช้อยู่  เช่น  สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ สัญญาณกล้องซีซีทีวี อย่างกล้องฟูจิโกะ  เป็นต้น
2.     สัญญาณแบบ  Digital       ประกอบจากระดับสัญญาณเพียง  2  ค่า  คือ  สัญญาณระดับสูงสุดและระดับสัญญาณต่ำสุด   จะมีประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือสูงกว่าแบบอนาล็อก   ซึ่งสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการทำงานและติดต่อสื่อสารกันในทางปฏิบัติ  อย่างกล้องไวไฟ หรือกล้องไวเลส จะสามารถใช้เครื่องมือในการแปลงระหว่างสัญญาณทั้งสองแบบได้  เพื่อช่วยให้สามารถส่งสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก   เรียกว่า  โมดูเลชั่น 

การแปลงสัญญาณ  Analog   เป็น   Digital
                  เทคนิคการแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอลแบ่งเป็น   2  วิธี  คือ
1.     การโมดูเลตทางแอมปลิจูดของพัลส์    อาศัยหลักการแซมปิง  ของสัญญาณที่เป็นอนาล็อก  ตามช่วงเวลาให้สัญญาณนั้นขาดจากกันเป็นพัลส์   โดยขนาดของแต่ละพัลส์จะเท่ากับขนาดของสัญญาณเดิมในช่วงเวลานั้น 
2.     การโมดูเลตแบบรหัสพัลส์   จากขนาดของพัลส์ใน  PAM   ยังคงเป็นแบบต่อเนื่องการส่งสัญญาณแบบ  PAM  จึงไม่ได้ต่างอะไรกับการส่งสัญญาณอนาล็อกเลย   ในวิธีการส่งแบบ PCM  จึงมีขั้นตอนในการทำให้ขนาดของสัญญาณของข้อมูลเป็นแบบไม่ต่อเนื่องก่อน   ด้วยวิธีที่เรียกว่า  การควอนไทซ์  ขั้นตอนการแปลงสัญญาณอนาล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตอล

วิธีการส่งข้อมูลดิจิตอล
1.     การสื่อสารแบบขนาน    (Parallel  Transmission)       ทำการส่งข้อมูลที่ละหลาย    บิต   ออกไปพร้อมกันโดยผ่านสายส่งข้อมูลที่มี  8  เส้น   ส่วนการส่งข้อมูลแบบอนุกรม   ข้อมูลจะถูกส่งออกไปที่ละบิตต่อเนื่องกันไป
      ข้อดี      สามารถส่งข้อมูลได้รวดเร็ว   เพราะส่งครั้งละ   8  บิต
      ข้อเสีย   ใช่ส่งแต่เฉพาะใกล้    เท่านั้น  และมีราคาแพงไม่เกี่ยวกับวงจรปิดไร้สาย
2.     การสื่อสารแบบอนุกรม  (Serial   Transmission)      สามารถแบ่งได้เป็น  2  แบบ  คือ
2.1      Asynchronous   Transmission     การส่งโดยไม่อาศัย  Clock   เป็นตัวอ้างอิงการแปลค่าสัญญาณที่ส่ง  แต่จะใช้เป็นตัวแยกในการส่ง  โดยสามารถส่งได้ชุดละ  8 บิต   เป็นวิธีที่สามารถทำได้ง่าย  ทีค่าใช้จ่ายไม่สูงมาก
2.2     Synchronous   Transmission      การส่งโดยการใช้   Clock   เป็นตัวอ้างอิงในการแปรค่าสัญญาณ  โดยที่ทั้งต้นทางและปลายทางที่ติดต่อด้วยจะต้องใช้  Clock   จากตัวเดียวกัน
              Clock    คือ   ตัวสร้างสัญญาณที่ใช้เป็นตัวอ้างอิงถึงในการส่งสัญญาณ   เป็นตัวที่ใช้ในการกำหนดความเร็วของอุปกรณ์กล้องไอพีภายนอก
              Synchronization    คือ    การเข้ากันได้ของสัญญาณที่ส่งระหว่างต้นทางและปลายทางซึ่งใช้   Clock   เป็นตัวอ้างอิงในการส่ง – รับสัญญาณ    มักเกิดปัญหากับการส่งสัญญาณที่มีความเร็วสูง      เนื่องจากอุปกรณ์ต้นทางและปลายทางโดยธรรมชาติแล้วจะไม่มีทางสร้าง  Clock   ที่เท่ากันได้    การรับสัญญาณก็จะมีการผิดพลาดจากความต่างของเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงเพื่ออ่านค่าข้อมูลที่ส่งมา
                Plesiochronouse   คือ      การสร้าง   Clock   ของทั้งสองฝั่งที่ติดต่อกันนั้นให้มีความเร็วที่ใกล้เคียงกันมากที่สุด 

วิธีการรับส่งข้อมูล   (Access  Method)
                   กฎที่ใช้ในการกำหนดว่าโหนดต่าง    ในระบบเครือข่ายจะแบ่งการใช้งานสื่ออย่างไร   ซึ่งกฎในการแชร์ของคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์วงจรปิด ก็เหมือนกับของมนุษย์  นั่นคือ   ใครมาก่อนให้บริการก่อน   และถึงตาใครก็ให้บริการคนนั้น  ซึ่งจะแบ่งเป็น  3  วิธี
1.     Contention     การใช้หลักการของการที่ใครมาถึงก่อนก็จะให้บริการก่อน   โดยที่คอมพิวเตอร์ทุก    เครื่องจะสามารถส่งเมื่อไหร่ก็ได้ที่ต้องการเหมือนเครื่องบันทึกภาพ
2.     Polling      การใช้เครื่องเซิร์ฟเวอร์ทำหน้าที่ถามไปยังอุปกรณ์ทุก    ตัวว่า   ต้องการจะส่งหรือไม่  ถ้ายังไม่ถูกถามจากเซิร์ฟเวอร์ก็ไม่มีสิทธิที่จะส่ง
3.     Token   Passing     การที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องรอรับโทเก้นที่ส่งมาในสายส่งก่อน  จึงจะสามารถส่งข้อมูลได้
คอนเทนชั่น   (Contention)
                โดยหลักการทั่วไป  เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องสามารถส่งข้อมูลได้ตลอดเวลา   การส่งพร้อมกันของคอมพิวเตอร์สองเครื่องก็จะเกิดการชนกัน   วิธีการที่จะหลีกเลี่ยงการชนกันให้น้อยที่สุดที่นิยมใช้คือ  วิธี  Carrier  Sensing  วิธีนี้จะให้คอมพิวเตอร์คอยฟังว่าในระบบเครือข่ายนั้นว่างหรือไม่  ถ้าว่างจึงจะส่งได้  ถ้าไม่ว่างก็จะส่งไม่ได้ และอีกวิธีหนึ่งคือ  Carrer  Detection   ซึ่งวิธีนี้จะตรวจสอบก่อนส่ง  และเมื่อส่งไปแล้วมีการตรวจสอบพบว่ามีเครื่องอื่น    ส่งในเวลาเดียวกันก็จะหยุดส่งทั้งสองฝั่ง และหยุดรอก่อนที่จะส่งอีกครั้ง   จึงมั่นใจได้ว่าทั้งสองเครื่องจะไม่ชนกันอีก  เมื่อมีการส่งใหม่อีกครั้ง  ทั้งสองวิธีนี้ถูกนำมาใช้รวมกัน  จะเรียกว่า   Carrier  Sense  Multiple  Access  with

โพลลิ่ง    (Polling)
                   วิธีนี้จะต้องมีอุปกรณ์เป็นตัวนำ  (Host)   ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์อื่น    โดยอุปกรณ์ตัวนี้จะทำหน้าที่สอบถามอุปกรณ์ต่าง    เพื่อให้กล้องรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายว่ามีอุปกรณ์ตัวใดต้องการจะส่งบ้าง   และหากไม่มีการสอบถามมาก่อน  อุปกรณ์ตัวนั้นก็จะไม่มีสิทธิ์ส่ง   และตัวนำก็จะนำข้อมูลที่ผู้ส่งส่งมาไปให้กับตัวรับ
                 ข้อดี        Speed    ในการรับ  -  ส่งคงที่
                 ข้อเสีย      -     ต้องรอให้ตัวนำสั่งก่อนจึงจะสามารถส่งได้
-       ใช้กับตัวนำตัวเดียว  ทำให้ตัวนำต้องมีขนาดใหญ่
-       ต้องใช้สายตลอดเวลาแม้ว่าไม่มีการส่งข้อมูลใด    ก็ต้องส่งข้อมูลว่าง    ออกไป
โทเก็นพาสซิ่ง   (Token  Passing)
                  จะต้องมีการสร้างข้อมูลพิเศษขึ้นมาชุดหนึ่ง  เรียกว่า  โทเก็น  เพื่อส่งจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอีกอุปกรณ์ในลำดับต่อไปที่ละตัวจนครบทุกตัวในระบบแล้วจึงวนกลับมายังอุปกรณ์ตัวแรก     อุปกรณ์ที่รับโทเก็นเข้ามาก็มีสิทธิที่จะส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบ อุปกรณ์ตัวอื่นที่ต้องการส่งข้อมูลก็ต้องรอจนกว่าโทเก็นจะมาถึงตน  แต่โพรโตคอลนี้ก็จะให้อุปกรณ์ทุกตัวมีโอกาสรับโทเก็นได้เท่ากัน     โพรโตคอลโทเก็นพาสชิ่งมีอยู่  2  แบบคือ   โทเก็นริง  และ  โทเก็นบัส

มัลติเพล็กชิ่ง  (Multiplexing)
                     เทคนิคที่ช่วยขยายช่องทางสื่อสารข้อมูลของบอร์ดแบนด์ด้วยเทคนิคต่าง    ดังนี้
1.     Frequency   Division   Multiplexing  (FDM)     แบบแบ่งตามความถี่เป็นการใช้กับระบบอนาล็อก  ที่มักใช้ในอดีต   การทำงานของ  FDM  จะทำงานโดยแบ่งความถี่ออกเป็นส่วน    เช่น  ระบบโทรศัพท์จะมีการใช้แบนด์วิธในการแบ่งเสียงของมนุษย์ที่หูสามารถแยกแยะความแตกต่างได้  แต่ระบบนี้มีข้อเสีย  คือ  รูปคลื่นของความถี่ข้างงเคียงทำให้การรบกวนกัน   เวลาใช้งานจึงต้องกำหนดให้ใช้ได้ไม่เกินที่ได้รับมาหรือทีวีวงจรปิด
2.     Time   Division   Multiplexing  (TDM)     แบบแบ่งตามเวลาเป็นการใช้กับระบบดิจิตอลที่ใช้ในปัจจุบัน   หลักการทำงานคือจะทำงานโดยถือหลักว่าในเวลาหนึ่ง    นั้น  แทนที่เราจะส่งข้อมูลเพียงชุดเดียวผ่านสื่อไปยังปลายทางเราสามารถที่จะส่งข้อมูลหลาย    ชุดไปพร้อมกัน  โดยอาศัยว่าในเสี้ยววินาทีที่ได้ส่งข้อมูลชุดแรกไปแล้วก็สามารถส่งข้อมูลที่สองต่อไปได้เลย
3.     STDM   (Statistical  Time  Division   Multiplex)     แบบแบ่งตามเวลาด้วยสถิติ   ซึ่งมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  อะซิงโคนัส    ในที่นี้เราจะใช้ชื่อสั้น    ว่า  STDM   เป็นวิธีการมัลติเพล็กซ์ที่ปรับปรุงการทำงานมาจากวิธีซิงโคนัส   TDM   ให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้นเพื่อรองรับจำนวนช่องทางให้ได้มากขึ้น    




บทที่     7    โพรโตคอล


โพรโตคอล
                       ขั้นตอนวิธีการในการสื่อสารข้อมูล   อาจจะเป็นภาษา  สัญญาณควันไฟ  รหัสมอสหรือวิธีการอื่น    ที่สามารถแทนความหมายและสามารถสื่อสารได้   เรียกว่าโพรโตคอลทั้งสิ้น    ในระบบการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์โพรโตคอลจะถูกกำหนดขึ้นจากทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์   หลักการพัฒนาโพรโตคอลเพื่อให้การสื่อสารข้อมูลมีประสิทธิภาพสูง   ได้แก่  การเพิ่มปริมาณและความเร็วของการสื่อสารของกล้องบันทึกภาพ    การตรวจสอบและแก้ไขข้อผิดพลาดขงการส่งข้อมูลในระบบ   เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เหมือนกับที่ส่งออกมาจากต้นทางจริง 
                     โพรโตคอลแต่ละชนิดจะถูกกำหนดให้ใช้เฉพาะกับระบบหนึ่ง    ในเครือข่าย   การเปลี่ยนแปลงระบบใดระบบหนึ่งในเครือข่ายจึงมักเกิดความผิดพลาดขึ้นด้วย   ในศูนย์คอมพิวเตอร์ของระบบเครือข่ายทั่วไป  ซึ่งสามารถให้บริการสำหรับโพรโตคอลต่างชนิดกันในเครือข่ายให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้   

โพรโตคอลเทเลไทน์  หรือ  อะซิงโครนัส   (Teletype  หรือ  TTY  หรือ  Asynchronous)
                      ลักษณะที่สำคัญของโปรแกรมชนิดนี้  จะส่งข้อมูลที่ละ  1  อักขระ  TTY  เป็นโพรโตคอลแบบเก่าที่ยังคงมีการใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบัน   ส่วนใหญ่จะใช้กับระบบมินิคอมพิวเตอร์   ระบบสื่อสารแบบหมุนหมายเลข   และกับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อย่างฟูจิโกะ หรือกล้อง hiview เคยใช้ก้น  
                      การทำงานจะใช้สัญญาณ  หรือรหัสควบคุมการส่งข้อมูลได้แก่  สัญญาณ  XON   เมื่อสัญญาณข้อมูลถูกส่งออกจากคอมพิวเตอร์   เพื่อจะไปพิมพ์ยังเครื่องพิมพ์ข้อมูลจะถูกส่งออกมาที่ละ  1  อักขระ     โพรโตคอลนี้จะใช้กับการสื่อสารข้อมูลแบบอะซิงโครนัส   แต่จำเป็นว่าในการสื่อสารแบบนี้จะต้องใช้โพรโตคอลในการสื่อสาร    การสื่อสารข้อมูลโดยใช้โพรโตคอลสามารถทำการตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูลได้   แต่ไม่สามารถแก้ไขข้อผิดพลาดของข้อมูลได้อย่างกล้อง infrared กล้อง ahd หรือกล้องจับขโมย


โพรโตคอลซิงโคนัส   (Synchronous)
                 วิธีการส่งข้อมูลของโพรโตคอลจะถูกจัดรวมเข้าเป็นข่าวสาร   โดยจะประกอบด้วยแฟลกที่ส่วนหัวและส่วนท้ายของ  Message    แฟลกที่ส่วนหัวประกอบด้วยบิตอักขระแสดงจุดเริ่มต้นของข่าวสาร  จากนั้นจะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับข่าวสารที่จะส่ง   เพื่อให้ทางผู้รับสามารถจัดลำดับรวบรวมข้อมูลเมื่อถึงปลายทางได้ถูกต้อง    หรืออาจจะบอกตำแหน่งของปลายทาง   รวมทั้งบอกเส้นทางสื่อสารจึงจบบิตส่วนหัวด้วยอักขระแสดงจุดเริ่มต้นของข้อความ  และเมื่อจบข้อความข่าวสารทั้งหมดแล้วจะต่อด้วยแฟลกส่วนท้าย    แล้วจึงตามด้วยบิตสำหรับการตรวจสอบข้อผิดพลาดของข้อมูล  จากนั้นจึงจบด้วยอักขระแสดงจุดสิ้นสุดการส่งข่าวสาร
                โพรโตคอลซิงโครนัสที่มีใช้กันย่างแพร่หลาย  ซึ่งมีลักษณะการทำงานคล้ายคลึงกันคือแยกข้อมูลทั้งหมดออกเป็น  Message  และมีการควบคุมการส่งข้อมูลเพื่อป้องกันกรณีปลายทางรับข่าวสารไม่ทัน   สามารถกำหนดเส้นทางการส่งข้อมูลในระบบเครือข่ายได้   รวมทั้งกำหนดหน้าที่ของเลเยอร์ที่  1  และเลเยอร์ที่  2    ในมาตรฐานของ   OSI

โพรโตคอล   RJE  (Remote   Job   Entry)
                ลักษณะของการใช้งานจะใช้กับการส่งข้อมูลให้กับกลุ่มผู้ใช้ซึ่งเรียงลำดับตามกันแบบเดียวกับการใช้โพรโตคอลซิงโครนัส   ในปัจจุบันโพรโตคอล  RJE    จะใช้กับการส่ง – รับข้อมูลที่เป็นบล็อกขนาดใหญ่ระหว่างไมโครคอมพิวเตอร์กับเครื่องเมนเฟรม   หรือกับโฮสต์คอมพิวเตอร์    การสื่อสารระหว่างเครื่อง  PC   กับเครื่อง   PC    ด้วยกันแล้ว    สำหรับในการส่ง –   รับข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่    2   เครื่องที่ต่างบริษัทผู้ผลิต   หรือระบบบางอย่างต่างกัน   ก็มักจะส่ง – รับ กันโดยอาศัยโพรโตคอลแบบ   RJE   นี้ด้วยเช่นกัน อย่างคีย์การ์ด

โพรโตคอล   BSC   หรือ  BISYN   (Binary   Synchronous  Communication)
                   โพรโตคอลซิงโครนัสแบบเฉพาะที่ใช้กับเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ของ   IBM   ที่เห็นอยู่ในชีวิตประจำวัน  เช่น   ระบบเครือข่าย  ATM   ประตูคีย์การ์ด เป็นต้น    โพรโตคอล   BSC  เป็นสื่อสารข้อมูลแบบกึ่ง  2  ทิศทาง  คือ  ผลัดกันโต้ตอบระหว่างผู้ส่งและผู้รับ   ผู้ส่งจะเป็นผู้ควบคุมการสื่อสารซึ่งเรียกว่า   “มาสเตอร์”  ส่วนผู้รับจะทำหน้าที่เป็นผู้ตามหรือ  “ซเลฟ”    มีหน้าที่ตอบรับการสื่อสารเพียงอย่างเดียว  จะเห็นว่าโพรโตคอล  BSC  จะสามารถตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลได้   แต่ไม่สามารถแก้ไขผิดพลาดได้   โดยจะต้องให้ผู้ส่งทำการส่งข้อมูลที่เกิดความผิดพลาดนั้นให้ใหม่
โพรโตคอล  SDLC   (Synchronous   Data   Link  Contro)
                       เป็นโพรโตคอลแบบซิงโครนัสที่ส่งข้อมูลเป็นกลุ่มอักขระที่แทนด้วยรหัสไบนารี   มีความสามารถในการเชื่อมโยงการส่งข้อมูลทั้งแบบจุดต่อจุด   และเชื่อมต่อแบบหลายจุด   ยังสามารถรับส่งข้อมูลได้ทั้งแบบกึ่ง  2  ทิศทาง  และแบบ  2  ทิศทาง   การควบคุมการส่ง  -  รับข้อมูลจะควบคุมด้วยอักขระเรียกว่า  อักขระควบคุมดาต้า – ลิงก์   โพรโตคอล  SDLC  เป็นมาตรฐานโพรโตคอลการสื่อสารของบริษัท  IBM  เช่นเดียวกับ โพรโตคอล  BSC   รูปแบบเฟรมของโพรโตคอล    SDLC   ที่ใช้ในการส่งข้อมูลมี  3  แบบ  คือ   เฟรมข้อมูล    เฟรมผู้ควบคุม   และเฟรมไม่มีลำดับ   เฟรมข้อมูลจะเป็นเฟรมที่บรรจุข่าวสารข้อมูลหรือข้อความ  ส่วนเฟรมผู้ควบคุมจะบรรจุข้อความการส่งข้อมูลและเฟรมไม่มีลำดับจะมีไว้สำหรับเริ่มต้นการสื่อสารของผู้จำหน่ายกล้อง  หรือยกเลิกการสื่อสารข้อมูล

โพรโตคอล  HDLC  (High-Level   Data  Link  Control)
                เป็นโพรโตคอลมาตรฐานซึ่งกำหนดขึ้นโดยองค์กร  ISO   เพื่อเพิ่มความเร็วในการส่ง – รับ ข้อมูล  สามารถใช้ได้กับการเชื่อมโยงการส่งข้อมูลทั้งแบบจุดต่อหรือ  และเชื่อมต่อแบบหลายจุด   ส่งข้อมูลได้ทั้งแบบกึ่ง  2  ทิศทาง  และแบบ  2  ทิศทาง   ข้อมูลที่ส่ง – รับ  เป็นแบบบิตข้อมูล  ใช้วิธีการส่งผ่านข้อมูลแบบซิงโครนัสผู้เป็นตัวแทนจำหน่ายกล้อง ต้องเช็คด้วย
               คุณสมบัติพิเศษอีกอย่างคือสถานีส่งสามารถส่งข้อมูลได้ทีละหลาย    บล็อกพร้อมกัน   แล้วค่อยรอการตอบรับจากสถานีรับว่าผลการตอบรับข้อมูลเป็นอย่างไร  ทำให้ลดการเสียเวลาในการตอบรับบล็อก   อาจจะมีการตอบรับเพียงครั้งเดียวสำหรับการส่งข้อเดียวทั้งหมดก็ได้  วิธีนี้เรียกว่า  Sliding  windows       มีประสิทธิภาพในแง่ของการประหยัดเวลา   สามารถเพิ่มความเร็วในการส่งข้อมูลได้ดีกว่า   ถ้าไม่มีความผิดพลาด   แต่มีความผิดพลาดเกิดขึ้นมากจะทำให้เสียเวลาในการส่งข้อมูลย้อนหลังมาให้กับสถานีรับใหม่บ่อย    ทำให้ยิ่งเสียเวลาในการตรวจสอบใหม่อย่างเครื่องบันทึก

โพรโตคอล   X.25
                  เป็นโพรโตคอลแบบบิตข้อมูล   ซึ่งกำหนดมาตรฐานโดยองค์กร  CCITT   ซึ่งใช้กันแพร่หลายทั้งในยุโรปและอเมริกันเหนือ   การทำงานของโพรโตคอล  X.25  จะอยู่ใน   3   เลเยอร์ล่างของรูปแบบ  OSI   เท่านั้น   บางครั้งอาจเรียกโพรโตคอล   X.25  ว่า  “แพ็กเก็ตเลเยอร์โพรโตคอล”    เพราะมักใช้เครือข่ายแบบแพ็กเก็ตสวิตซ์

NetBEUI   (NetBIOS   Extended   User   Interface)
                 โพรโตคอล   NetBIOS    ได้มีการพัฒนาร่วมกันระหว่าง  IBM   และ  Microsoft   มีการใช้งานอยู่ในเครือข่ายหลาย    ชนิด  เป็นโพรโตคอลที่ทำงานอยู่ในระดับ  Session  Layer  เท่านั้น  จึงไม่เป็นโพรโตคอลสำหรับเครือข่ายโดยสมบูรณ์จึงได้พัฒนาโพรโตคอล   NetBUIE   ซึ่งเป็นส่วนขยายเพิ่มเติมของ  Net BIOS  ที่ทำงานอยู่ใน  Network  Layer  และ  Transport   Layer  จะพบการใช้งานได้ใน  Windows   for  Workgroups  และ  Windows  NT เป็นต้น

IPX /SPX    (Internetwork   Packet   Exchange  /  Sequenced  Packet  Exchange)
                   เป็นโพรโตคอลที่มีขนาดเล็ก   ทำงานได้รวดเร็ว  พัฒนาโดยบริษัท  Novell   ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากกับโพรโตคอลนี้   และทำให้ระบบปฏิบัติการเครือข่ายของทางบริษัทเป็นที่รู้จักกันทั่วไปจนถึงปัจจุบัน   ทำให้บริษัทไมโครซอฟต์จำเป็นต้องนำชุดโพรโตคอล   IPX / SPX  ของบริษัท  Novell  เข้าไปบรรจุในชุดโพรโตคอลใน  MS  Windows
                 จุดเด่นของโพรโตคอลนี้ก็คือสามารถค้นหาเส้นทางได้  และมีประสิทธิภาพสูงสำหรับระบบเครือข่าย  LAN  ง่ายต่อการจัดการ  และสามารถค้นหาเส้นทางได้และสามารถนำมาใช้งานกับระบบเครือข่าย  WAN   ได้  แต่ยังเป็นรอง  TCP / IP  ในเรื่องเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต    และมีหน้าที่แบ่งการทำงานเป็นสองส่วนด้วยกัน  คือ  IPX  จะคอยจัดการในเรื่องของบริการเครือข่ายระดับล่าง     เช่น  การระบุแอดเดรสของผู้รับและส่งข้อมูลและการเปลี่ยนทิศทาง   สำหรับหน้าที่ของ  SPX  นั้น   จะจัดการในระดับชั้น   Transport   คือ  เรื่องของการรับส่งข้อมูลที่จำเป็นจะต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องในการรับส่งจากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่งซึ่งไม่นิยมมาใช้กับกล้องวงจรปิด hiview ในชนิดกล้องโดม กล้อง speed dome

TCP /IP  (Transmission   control  Protocol  /  Internet   Protocol)
                  เป็นโพรโตคอลที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน   โดยมีการใช้งานทั้งในระบบ  LAN   และ   WAN  เป็นชุดของโพรโตคอลซึ่งรับหน้าที่ในส่วนต่าง    กัน  และมีการแบ่งเป็น  2  ระดับ  คือ
1.     IP  Layer    เป็นโพรโตคอลที่อยู่ในระดับต่ำกว่า  TCP 
2.     TCP  Layer  เป็นโพรโตคอลที่อยู่ในระดับสูงกว่า  IP
                โพรโตคอล   TCP / IP   เป็นทางเลือกสำหรับเครือข่าย   LAN  และเครือข่าย  WAN  เป็นโพรโตคอลที่มีความยืดหยุ่นสูงและมีประสิทธิภาพสูง   จึงสามารถนำไปใช้งานได้ทั้งกับเครือข่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่   เป็นโพรโตคอลที่สามารถค้นหาเส้นทางได้   จึงมีการใช้งานกันอย่างกว้างขวางโดยเฉพาะเป็นโพรโตคอลทีใช้เปิดประตูเข้าสู่โลกอินเตอร์เน็ต  TCP / IP  เป็นโพรโตคอลที่ใช้กันมานานในเครื่องที่ใช้ระบบปฏิบัติการ   ก่อนที่จะมานิยมใช้กันในระบบ  LAN  และ  WAN   และในปัจจุบันก็ได้มีการนำโพรโตคอลนี้มาใช้งานกับเครือข่ายสาธารณะระดับโลกที่เรียกว่า  อินเตอร์เน็ตเพื่อทำการติดตั้งกล้อง แบบกล้องccd  ชนิดกล้องhd
จุดเด่นและความสามารถของโพรโตคอล   TCP / IP  คือ
1.       เครื่องคอมพิวเตอร์   แม้ว่าจะเป็นระบบใดก็ตาม   จะสามารถติดต่อสื่อสารกันได้โดยใช้โพรโตคอล   TCP / IP
2.     ข้อมูลที่รับส่งด้วยโพรโตคอล   TCP /IP  สามารถเลือกทิศทางได้   ซึ่งมีความฉลาดที่จะหาเส้นทางระหว่างเครือข่ายต่าง    ที่เชื่อมต่อด้วยกัน   ถึงแม้จะเป็นเครือข่ายที่ครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ก็ตาม   เพื่อให้ข้อมูลไปถึงผู้รับได้ถูกต้องด้วยตัวเอง  จึงเป็นโพรโตคอลที่เหมาะสมที่สุดในระบบอินเตอร์เน็ต   ซึ่งมีเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันทั่วโลกอย่างกล้องวงจรปิด avtech ราคา ถูก ที่ทำการติดตั้งกล้อง ก็นิยมใช้กัน

โพรโตคอล   TCP
                  เป็นโพรโตคอลที่มีการรับส่งข้อมูลจะไม่คำนึงถึงปริมาณข้อมูลที่จะส่งไป   แต่จะแบ่งข้อมูลเป็นส่วนย่อย    เหมาะอย่างยิ่งในการ ติดกล้อง ทั่วไป เพื่อให้กล้องติด แล้วมีประสิทธิภาพ ก่อนแล้วจึงจะส่งไปยังปลายทางอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับข้อมูล    ในกรณีที่ข้อมูลส่วนใดส่วนหนึ่งสูญหายไป   ก็จะส่งข้อมูลส่วนนั้นใหม่อีกครั้ง   สำหรับปรายทางก็จะทำหน้าที่จัดเรียงส่วนของข้อมูลใหม่ให้ต่อเนื่องกัน   และประกอบกลับคืนให้เป็นข้อมูลทั้งหมดได้    ซึ่งจะแยกข้อมูลที่ไม่ถูกต้องออก   การติดต่อระหว่างกันจะต้องมีการสร้างการติดต่อกันเป็น  Session  ทั้ง  2  ด้านเสียก่อน   แล้วจึงจะรับส่งข้อมูลไปได้พร้อมกันเหมือนกับการใช้โทรศัพท์ติดต่อกัน

โพรโตคอล   UDP  
                  ในการรับส่งโพรโตคอล   UDP   จะเป็นแบบที่ทั้งสองด้านไม่จำเป็นต้องอาศัยการสร้างช่องทางเชื่อมต่อกัน   ระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์ให้บริการกับเครื่องที่ขอใช้บริการ   โดยไม่ต้องแจ้งให้ฝ่ายรับข้อมูลเตรียมรับข้อมูลเหมือนโพรโตคอล  TCP   และไม่มีการตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนในการรับส่งข้อมูลนั้น    ด้วย  ในการส่งข้อมูลแต่ละครั้งและไม่มีการส่งข้อมูลใหม่อีกในกรณีที่เกิดความผิดพลาดของการส่งข้อมูลกล้องวงจร  เมื่อเป็นเช่นนี้แอพพลิเคชันหรือโพรเซสใดที่ต้องอาศัยโพรโตคอล   UDP   ในการส่งข้อมูลก็อาจจะต้องสร้างขบวนการตรวจสอบข้อมูลขึ้นมาเอง

โพรโตคอล   IP    (Internet   Protocol)
                   โพรโตคอลที่ทำหน้าที่ให้บริการส่งผ่านข้อมูล   เพื่อส่งข้ามไปยังเครือข่ายใด    ได้อย่างถูกต้อง    เนื่องจากโพรโตคอล  IP  มีข้อมูลตำแหน่ง   IP   ปลายทางที่จะส่งข้อมูลไปให้    โดยทำงานร่วมกับอุปกรณ์  Router   เพื่อส่งข้อมูลข้ามเครือข่ายออกไปได้   โดยข้อมูลจะเดินทางไปยังเครือข่ายต่าง    ผ่านสวิตซ์นี้ไปเรื่อย    จนกว่าจะถึงปลายทาง  ตัววงจรผ่านหรือสวิตซ์นี้เป็น  Router   ในระบบเครือข่ายก็ได้   ซึ่งในข้อมูลของโพรโตคอล  IP  จะมีข้อมูลของหมายเลข  IP  ปลายทางที่จะส่งข้อมูลไปให้   และเมื่อถึงเครือข่ายปลายทางแล้วจะมีกลไกแปลงหมายเลข  IP  ให้เป็นหมายเลขฮาร์ดแวร์ประจำเครื่องที่ถูกต้องอีกทีหนึ่งด้วยโพรโตคอล   ARP

โพรโตคอล   ICMP   (Internet   Control   Message    Protocol)
                   หน้าที่หลักของโพรโตคอล  ICMP   การแจ้งVข้อความจากระบบเพื่อบอกให้ผู้ใช้ทราบว่าเกิดอะไรขึ้นในการส่งผ่านข้อมูลนั้น   ซึ่งปัญหาส่วนมากที่พบ  ส่งไปไม่ได้  หรือปลายทางรับข้อมูลไม่ได้  เป็นต้น   นอกจากนี้โพรโตคอลยังถูกเรียกใช้งานจากเครื่อง  Server   และ   Router   อีกด้วย   เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ใช้ควบคุม   การทำงานจะทำการควบคุมคู่กับโพรโตคอล  IP  ในระบบเดียวกัน   และข้อความต่าง    ที่แจ้งให้ทราบจะถูกผนึกอยู่ภายในข้อมูล  IP  อีกทีหนึ่ง   ข้อความโพรโตคอลแบ่งออกได้เป็น  2  แบบ  ข้อความแจ้งข้อผิดพลาด   และ ข้อความเรียกขอข้อมูลเพิ่มเติม
                   โพรโตคอล   ICMP   เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการช่วยทดสอบเครือข่าย  เช่น   เรามักใช้ทดสองเครื่อง Server  ที่ให้บริการหรืออุปกรณ์ที่ต่ออยู่ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ตนั้นยังทำงานปกติหรือไม่   แล้วคำสั่ง  Ping  มีการเรียกใช้งานโพรโตคอล  ICMP  แจ้งเป็นข้อความให้ทราบอีกด้วยต่อหนึ่ง

โพรโตคอล     ARP   (Address   Resolution   Protocol)
                    โพรโตคอลนี้ถูกเรียกใช้งานโดยโพรโตคอล  IP   เพื่อช่วยแปลงหมายเลข  IP  ไปเป็นหมายเลขฮาร์ดแวร์ปลายทาง   เช่น   เว็บเซิร์ฟเวอร์เครื่องหนึ่ง  เชื่อมต่ออยู่ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต  และในการเชื่อมต่อนี้  ต้องอาศัย  Lan  card  ที่ตั้งอยู่  จะมีหมายเลขเฉพาะประจำฮาร์ดแวร์ที่ไม่ซ้ำกับใคร  ก็จะต้องมีการกำหนดหมายเลข  IP  Address  ประจำตัวเพื่อใช้อ้างอิงกัน  และโพรโตคอล   ARP  จะทำหน้าที่แปลงค่าหมายเลข  IP  ให้เป็นหมายเลขฮาร์ดแวร์จริง  ซึ่งกลไกในการแปลงนี้เรียกว่า  Address  Resolution
โพรโตคอล  RARP   (Reverse   Address  Resolution   Protocol)
              วิธีการ  ARP  ช่วยแก้ปัญหาในการค้นหาที่อยู่ของข้อมูลที่ใช้   การกำหนดที่อยู่ฮาร์ดแวร์แบบ  IP    การค้นหาสามารถทำได้โดยวิธีควบคุมการสื่อสารแบบ   ARP  ย้อนกลับ  หรือ  RARP   วิธีการนี้เพิ่งจะเริ่มทำงานส่งคำถามออกไปในทำนองว่า  “ที่อยู่ขนาด  48  Bits  แบบฮาร์ดแวร์ของฉันคือ   14.04 .05  18.01.25  มีใครทราบที่อยู่  IP  ของฉันบ้าง”   เครื่องที่ให้บริการ  RARP  จะตรวจดูในตารางข้อมูลของตนเองแล้วจึงส่งหมาย   IP  กลับไปให้   วิธีการนี้ช่วยให้เกิดความอ่อนตัวและเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้หมายเลข  IP    ข้อด้อยของวิธีนี้ก็คือการที่ผุ้ใช้จะส่งคำถามโดยใช้หมายเลข  1  จำนวน  48  ตัว  เป็นที่อยู่ของผู้ให้บริการ  หมายเลขนี้เป็นหมายเลขพิเศษที่  Router  จะไม่ยอมส่ง  Package  ผ่านไปยังเครือข่ายอื่นเลย  ผู้ให้บริการ  RARP  จะต้องมีอยู่ประจำทุกเครือข่าย  ซึ่งได้มีการได้รับการพัฒนาขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาโดยการใช้  Package  UDP   แทน  สามารถสุ่งไปได้ทั่วทั่วทุกเครือข่ายและยังให้ข้อมูลอื่นเพิ่มเติม