การทำงานกล้องวงจรปิดกับการเกิดความเครียด
มีสาเหตุดังต่อไปนี้
1. สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ไม่เหมาะสม เสียงที่ดังรบกวนการทำงาน อุณหภูมิสูงหรือเย็นเกินไป ถ้าอุณหภูมิสูงเกินไปทำให้เหงื่อออก เหนียวตัว
ถ้าเป็นการทำงานที่ต้องใช้มือในสภาพที่เย็นเกินไป เช่นงานที่ต้องสัมผัสความเย็นเป็นเวลานาน ๆ ทำให้เกิดโรคนิ้วมือซีดหรือโรคเรย์โนต์
และการทำงานในงานที่แสงสว่างไม่เพียงพอในงานที่ต้องใช้สายตา หรือพื้นที่ทำงานมีความคับแคบเกินไป สีของห้องทำงานมือทึบ ทำให้รู้สึกหดหู่ หรือเป็นสีที่ร้อนเกินไป
2. ลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย การทำงานที่มากเกินไป มีการทำล่วงเวลาทุกวันกลับบ้านดึก การที่ทำงานเป็นระยะเวลานาน จำเจ ซ้ำซาก
2. ลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย การทำงานที่มากเกินไป มีการทำล่วงเวลาทุกวันกลับบ้านดึก การที่ทำงานเป็นระยะเวลานาน จำเจ ซ้ำซาก
นั่งทำงานท่าเดียวตลออทั้งวัน การทำงานเป็นกะ ทำให้เกิดอาการล้า หรืองานที่ต้องใช้ทักษะในการทำงานที่ซับซ้อนเกินไป งานที่ไม่น่าสนใจ ขาดทรัพยากรในการทำงานจนไม่สามารถทำงานให้สำเร็จได้
3. วิธีการบริหารในองค์กร การบริหารที่ขาดการสื่อสารที่ดีภายในองค์กร หรือขาดการมีส่วนร่วมของพนักงาน สภาพการทำงานของเจ้านายกับลูกน้องที่ไม่มีความเป็นมิตรต่อกัน เป็นต้น
4. ความสัมพันธ์ระหว่งบุคคล พนักงานกับเจ้านาย และความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานด้วยกันเอง หากความสัมพันธ์ภายในองค์กรไม่ดีพอก็อาจเกิดความเครียดในองค์กรได้
5. ระเบียบการทำงาน การมีระเบียบกฏเกณฑ์ที่มากเกินไป ความรับผิดชอบมากไป หรือหน้าที่มากไป ความคาดหวังที่เกี่ยวกับงานมากไป สิ่งเหล่านี้จะก่อให้เกิดความเครียด
6. ความมั่นคงและความก้าวหน้าในการทำงาน ถ้าไม่มีความมั่นคงหรือความก้าวหน้า หรือการให้ความดีความชอบ การเปลี่ยนตำแหน่งอย่างไม่คาดหวัง สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้เกิดความเครียด
3. วิธีการบริหารในองค์กร การบริหารที่ขาดการสื่อสารที่ดีภายในองค์กร หรือขาดการมีส่วนร่วมของพนักงาน สภาพการทำงานของเจ้านายกับลูกน้องที่ไม่มีความเป็นมิตรต่อกัน เป็นต้น
4. ความสัมพันธ์ระหว่งบุคคล พนักงานกับเจ้านาย และความสัมพันธ์ระหว่างพนักงานด้วยกันเอง หากความสัมพันธ์ภายในองค์กรไม่ดีพอก็อาจเกิดความเครียดในองค์กรได้
5. ระเบียบการทำงาน การมีระเบียบกฏเกณฑ์ที่มากเกินไป ความรับผิดชอบมากไป หรือหน้าที่มากไป ความคาดหวังที่เกี่ยวกับงานมากไป สิ่งเหล่านี้จะก่อให้เกิดความเครียด
6. ความมั่นคงและความก้าวหน้าในการทำงาน ถ้าไม่มีความมั่นคงหรือความก้าวหน้า หรือการให้ความดีความชอบ การเปลี่ยนตำแหน่งอย่างไม่คาดหวัง สิ่งเหล่านี้ล้วนทำให้เกิดความเครียด
วิธีที่จะลดความเครียดที่เกิดจากการทำงานในที่ทำงานทำได้โดย
1. การจัดการความเครียดของตนเอง
2. การเปลี่ยนแปลงองค์กร
3. การที่ให้พนักงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับงาน
4. ใช้การบริหารจัดการเชิงวิทยาศาสตร
วิธีการป้องกันความเครียดที่เกิดขึ้นที่ทำงาน
การที่จะรอให้พนักงานออกมาเรียกร้องหรือรอให้เกิดปัญหา จากการที่ผู้บริหารนิ่งเฉยอาจทำให้พนักงานเกิดความกังวลเกี่ยวกับการจ้างงาน จึงต้องมีวิธีการป้องกันปัญหาความเครียดที่เกิดจากการทำงานดังนี้
1. การค้นหาสาเหตุปัญหาและการวิเคราะห์ ที่สามารถทำได้โดยการประชุมกลุ่มทำงาน กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มหัวหน้าคนงาน กลุ่มตัวแทนคนงาน
การทำแบบสอบถามถึงงานที่ทำให้เกิดความเครียด อาการของความเครียดและระดับความเครียด การสำรวจหาสาเหตุของการหยุดงาน การลาออกจากงาน ความเจ็บป่วย และการเปลี่ยนงาน
2. การวางแผนและการแก้ไข ถ้าทราบถึงปัญหาก็จะทราบถึงแนวทางในการแก้ไขพร้อมทั้งแจ้งให้แก่พนักงานทราบถึงแนวทางในการแก้ไขและผลที่จะได้รับ
3. การประเมินผล จากการที่ได้ปฏิบัติตามแผนแล้วก็ต้องมีการประเมินโดยทำเหมือนกับข้อแรก
2. การวางแผนและการแก้ไข ถ้าทราบถึงปัญหาก็จะทราบถึงแนวทางในการแก้ไขพร้อมทั้งแจ้งให้แก่พนักงานทราบถึงแนวทางในการแก้ไขและผลที่จะได้รับ
3. การประเมินผล จากการที่ได้ปฏิบัติตามแผนแล้วก็ต้องมีการประเมินโดยทำเหมือนกับข้อแรก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น