โครงสร้างของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว
ในการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยโครงสร้างพื้นฐานประกอบด้วย กระดูก กล้ามเนื้อโครงกระดูก ลิกาเมนต์ เอ็น ฟาสเซีย คาร์ทิเลจ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. กระดูก ทำหน้าที่ค้ำจุ้นร่างกายให้คงรูปร่างอยู่ได้ กระดูกของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กระดูกแกน เช่น กะโหลกศรีษะ กระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง และกระดูกระยางค์
เป็นกระดูกที่เชื่อมต่อกับกระดูกแกนมีหน้าที่ค้ำจุ้นและเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น กระดูกแขน กระดูกข้อมือ กระดูกนิ้วมือ กระดูกเชิงกราน เป็นต้น
2. กล้ามเนื้อโครงกระดูก เป็นเนื้อเยื่อส่วนสำคัญทำให้เกิดการเคลื่อนไหว การหดตัวของกล้ามเนื้อทำให้ร่างกายเกิดการเคลื่อนไหว
2. กล้ามเนื้อโครงกระดูก เป็นเนื้อเยื่อส่วนสำคัญทำให้เกิดการเคลื่อนไหว การหดตัวของกล้ามเนื้อทำให้ร่างกายเกิดการเคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อเหล่านี้ทำหน้าที่ในการสร้างแรงและโมเมนต์ในข้อส่วนต่าง ๆ ส่วนปลายของกล้ามเนื้อจะเชื่อมต่อกับเอ็นที่ยึดกับกระดูกหลายชิ้น การทำงานของกล้ามเนื้อจะถูกควบคุมด้วยระบบประสาท
3. ลิกาเมนต์ เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างกระดูกกับกระดูก มีลักษณะคล้ายกับเอ็น
4. เอ็น เนื้อเยื่อที่เกาะยึดระหว่างกระดูกกับกล้ามเนื้อ มีลักษณะเป็นเส้นใยจำนวนมาก จะมีปลอกหุ้มเป็นช่วยในการเคลื่อนไหวที่มีการเสียดสีกับอวัยวะอื่น ๆ
5. ฟาสเซีย เนื้อเยื่อพังพือบาง ๆ ทำหน้าที่ห่อหุ้มและมัดรวมอวัยวะหรือเนื้อเยื่อต่าง ๆ เช่น กล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น และลิกาเมนต์
6. คาร์ทิเลจ เนื้อเยื่อที่ปกคลุมอยู่บริเวณส่วนผิวของกระดูก จึงอาจเรียกว่ากระดูกอ่อน เช่น เนื้อเยื่อในส่วนข้อต่อกระดูก ข้อต่อนิ้วมือ ข้อเข่า หรือกระดูกสันหลัง ส่วนประกอบของหมอนรองกระดูก เนื้อเยื่อที่มีเส้นใยอิลาสติกเป็นส่วนประกอบ พบอยู่ในส่วนของหู
3. ลิกาเมนต์ เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่มีหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างกระดูกกับกระดูก มีลักษณะคล้ายกับเอ็น
4. เอ็น เนื้อเยื่อที่เกาะยึดระหว่างกระดูกกับกล้ามเนื้อ มีลักษณะเป็นเส้นใยจำนวนมาก จะมีปลอกหุ้มเป็นช่วยในการเคลื่อนไหวที่มีการเสียดสีกับอวัยวะอื่น ๆ
5. ฟาสเซีย เนื้อเยื่อพังพือบาง ๆ ทำหน้าที่ห่อหุ้มและมัดรวมอวัยวะหรือเนื้อเยื่อต่าง ๆ เช่น กล้ามเนื้อ กระดูก เอ็น และลิกาเมนต์
6. คาร์ทิเลจ เนื้อเยื่อที่ปกคลุมอยู่บริเวณส่วนผิวของกระดูก จึงอาจเรียกว่ากระดูกอ่อน เช่น เนื้อเยื่อในส่วนข้อต่อกระดูก ข้อต่อนิ้วมือ ข้อเข่า หรือกระดูกสันหลัง ส่วนประกอบของหมอนรองกระดูก เนื้อเยื่อที่มีเส้นใยอิลาสติกเป็นส่วนประกอบ พบอยู่ในส่วนของหู
โรคนิ้วล็อกหรือโรคปลอกหุ้มเอ็นนิ้วมืออักเสบ
ข้อนิ้วมือที่มีอาการงอแล้วไม่สามารถเหยียดขึ้นเองได้เหมือนถูกล็อค เป็นโรคที่พบบ่อยในคนทั่วไปที่ต้องใช้มือในการจับสิ่งของหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ
อย่างต่อเนื่องจากการทำงานที่มีการใช้มือในการทำงาน เช่น ทำงานบ้าน ทำสวน ขุดดิน หรือผู้ทีพิมพ์งานเป็นเวลานาน ๆ มีความรู้สึกเจ็บปวด และใช้มือได้ไม่ถนัด หรือหยิบสิ่งของได้ไม่ดี ส่วนนิ้วที่เป็นบ่อยได้แก่ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วกลาง และนิ้วนาง หรืออาจเป็นพร้อมกันได้
ส่วนสาเหตุมักเกิดจากการทำงานของกล้องวงจรปิดที่ทำให้เกิดการอักเสบของเส้นเอ็นที่ใช้ในการงอข้อนิ้วมือ ทำให้เส้นเอ็นหนาตัวขึ้นและติดขัดในการเคลื่อนไหวขณะที่เหยียดนิ้วมือ
ส่วนสาเหตุมักเกิดจากการทำงานของกล้องวงจรปิดที่ทำให้เกิดการอักเสบของเส้นเอ็นที่ใช้ในการงอข้อนิ้วมือ ทำให้เส้นเอ็นหนาตัวขึ้นและติดขัดในการเคลื่อนไหวขณะที่เหยียดนิ้วมือ
เมื่อมีการอักเสบรุนแรงมากขึ้นจะเกิดปุ่มตรงเส้นเอ็น เวลางอนิ้วมือปุ่มจะอยู่นอกปลอกหุ้มแต่ไม่สามารถเคลื่อนกลับเข้าปลอกหุ้มได้ต้องออกแรงช่วยจึงจะสามารถฝืนให้ปุ่มเคลื่อนผ่านปลอกหุ้มเข้าไปได้
โรคเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ถูกหนีบ
การทำงานในลักษณะที่ต้องยกแขนขึ้นเหนือศีรษะเป็นประจำ เช่น งานติดตั้งฝ้าและเพดาน งานทาสีฝ้าและเพดาน งานซ่อมรถยนต์เหนือศีรษะ ซึ่งเกิดอาการบาดเจ็บจากการอักเสบของเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ อาการเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ถูกหนีบจะมีอาการก็ต่อเมื่อยกแขขนขึ้นหรือใช้งานแขน
โรคเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ถูกหนีบ
การทำงานในลักษณะที่ต้องยกแขนขึ้นเหนือศีรษะเป็นประจำ เช่น งานติดตั้งฝ้าและเพดาน งานทาสีฝ้าและเพดาน งานซ่อมรถยนต์เหนือศีรษะ ซึ่งเกิดอาการบาดเจ็บจากการอักเสบของเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ อาการเอ็นกล้ามเนื้อไหล่ถูกหนีบจะมีอาการก็ต่อเมื่อยกแขขนขึ้นหรือใช้งานแขน
เมื่อยกหรือกางแขนจนถึงจุดหนึ่งเอ็นจะไปสีกับกระดูกสะบักและทำให้เกิดอาการเจ็บแปลบ จนไม่สามารถยกแขนขึ้นต่อไปได้
และหากไม่ทำการรักษาอาจมีผลต่อเนื่องทำให้เยื่อหุ้มข้อไหล่ยึดรั้งและส่งผลทำให้ข้อไหล่ติดแข็งจากการไม่ใช้งานของข้อไหล่
โรคข้อศอกเทนนิสหรือโรคเอ็น กล้ามเนื้อ ข้อศอกอักเสบ
การทำงานที่มีการกระดกข้อมือและข้อศอกอยู่เสมอ และมีลักษณะท่าทางเหมือนการเล่นกีฬาประเภทเทนนิสเป็นประจำ ในที่สุดก็ทำให้เกิดการบาดเจ็บและอักเสบของเอ็น กล้ามเนื้อบริเวณข้อศอก และเรียกโรคนี้ว่าโรคข้อศอกเทนนิส
วิธีการป้องกันให้เลือกใช้อุปกรณ์เพื่อลดการทำงานของกล้ามเนื้อ และลดการทำงานที่ต้องใช้มือดันแปรงทาสีเคลื่อนที่ขึ้น-ลงหรือเคลื่อที่ไป-มา อาจจัดให้มีการหยุดพักการทำงาน หรือทำงานในลักษณะอื่นสลับกัน
และหากไม่ทำการรักษาอาจมีผลต่อเนื่องทำให้เยื่อหุ้มข้อไหล่ยึดรั้งและส่งผลทำให้ข้อไหล่ติดแข็งจากการไม่ใช้งานของข้อไหล่
โรคข้อศอกเทนนิสหรือโรคเอ็น กล้ามเนื้อ ข้อศอกอักเสบ
การทำงานที่มีการกระดกข้อมือและข้อศอกอยู่เสมอ และมีลักษณะท่าทางเหมือนการเล่นกีฬาประเภทเทนนิสเป็นประจำ ในที่สุดก็ทำให้เกิดการบาดเจ็บและอักเสบของเอ็น กล้ามเนื้อบริเวณข้อศอก และเรียกโรคนี้ว่าโรคข้อศอกเทนนิส
วิธีการป้องกันให้เลือกใช้อุปกรณ์เพื่อลดการทำงานของกล้ามเนื้อ และลดการทำงานที่ต้องใช้มือดันแปรงทาสีเคลื่อนที่ขึ้น-ลงหรือเคลื่อที่ไป-มา อาจจัดให้มีการหยุดพักการทำงาน หรือทำงานในลักษณะอื่นสลับกัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น