สร้างโรงงานราคา ประหยัดต้องไม่ลืม ขนาดของท่อน้ำสำหรับระบบโปรยน้ำฝอย
สร้างโรงงานราคา ขนาดท่อน้ำที่จ่ายให้กับหัวฉีดอาจคำนวณได้จากประสบการณ์ ประกอบการการทดลองซึ่งใช้งานได้ผลดีมาแล้วในอดีต ส่วน hydraulic calculation
นั้นเหมาะสำหรับใช้กับระบบขนาดใหญ่ที่ต้องการอัตราน้ำมาก เพราะจะให้การกระจายน้ำที่สม่ำเสมอดีและยังสามารถออกแบบขนาดท่อได้อย่างประหยัดอีกด้วย
วิธีที่ง่ายแก่การปฏิบัติก็คือการใช้ประสบการณ์การศึกษาระบบที่ใช้งานอยู่และผลการทดลองประกอบแล้วจัดทำเป็นตารางของขนาดท่อ
การจัดระบบท่อและระยะของหัวฉีด
ผู้ออกแบบควรจัดระบบท่อให้จ่ายอยู่กลางกลุ่มของหัวฉีด ทั้งนี้เพื่อลด friction loss ภายในท่อให้อยู่ในระดับที่พอเหมาะทางด้านปฏิบัติ วิธีการเดินท่อสำหรับหัวจ่ายที่เหมาะสม 4 แบบ คือ
- แบบ ก เรียกว่า central feed
- แบบ ข เรียกว่า side central feed
- แบบ ค เรียกว่า central end feed
- แบบ ง เรียกว่า side end feed
พื้นที่ที่เป็นอาคารเดียวกัน อาจจะใช้ท่อเมนเพียงท่อเดียวในการทำการจ่ายน้ำได้ แต่ก็ไม่เป็นที่นิยมทำกันทางด้านปฏิบัติ
ระบบดับเพลิงชนิดพ่นน้ำเป็นฝอย
ระบบแบบพ่นน้ำฝอย หัวฉีดทุกหัวจะทำงานพร้อมกัน โดยมีระยะห่างที่พอเหมาะ กรณีที่เกิดเพลิงไหม้ที่บริเวณใกล้เคียงจนอุณหภูมิรอบ ๆ
สินค้าแนะนำ : กล้องวงจรปิด
การจัดระบบท่อและระยะของหัวฉีด
ผู้ออกแบบควรจัดระบบท่อให้จ่ายอยู่กลางกลุ่มของหัวฉีด ทั้งนี้เพื่อลด friction loss ภายในท่อให้อยู่ในระดับที่พอเหมาะทางด้านปฏิบัติ วิธีการเดินท่อสำหรับหัวจ่ายที่เหมาะสม 4 แบบ คือ
- แบบ ก เรียกว่า central feed
- แบบ ข เรียกว่า side central feed
- แบบ ค เรียกว่า central end feed
- แบบ ง เรียกว่า side end feed
พื้นที่ที่เป็นอาคารเดียวกัน อาจจะใช้ท่อเมนเพียงท่อเดียวในการทำการจ่ายน้ำได้ แต่ก็ไม่เป็นที่นิยมทำกันทางด้านปฏิบัติ
ยกเว้นเสียแต่ว่าแต่ละส่วนมีพื้นที่และจำนวนหัวฉีดน้อยเท่านั้น ในลักษณะที่มีพื้นที่กว้างควรจะจัดท่อดิ่งเมนสำหรับจ่ายแต่ละพื้นที่โดยเฉพาะทั้งนี้
เพื่อความสะดวกในการซ่อมบำรุงทีละส่วน ตลอดจนแบ่งเขตการป้องกันเพลิงให้พอเหมาะ สำหรับตำแหน่งของหัวฉีดจะต้องจัดให้พอเหมาะโดยคำนึกงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. จำนวนพื้นที่ป้องกันเพลิงสูงสุดของแต่ละหัวฉีด
2. จัดหัวฉีดไม่ให้มีสิ่งกีดขวางทิศทางของการโปรยน้ำ
3. ระยะห่างของหัวฉีดจากระดับเพดาน
วาล์วสัญญาณเตือนภัยสำหรับระบบท่อเปียก
ในระบบดับเพลิงแบบโปรยน้ำจะต้องมีวาล์วสัญญาณสำหรับเตือนภัยอยู่ด้วย มักจะติดอยู่ใกล้ส่วนล่างของท่อยืน หรือที่ท่อแยกสสำหรับแต่ละชั้น หน้าที่สำคัญของวาล์วสัญญาณเตือนนภัยก็คือ
- เป็นสัญญาณแจ้งเพลิงไหม้
- ช่วยให้การดับเพลิงมีประสิทธิผลดีขึ้น
หน้าที่ประการหลังนี้สืบเนื่องมาจากประการแรก ระบบดับเพลิงจะโปรยน้ำโดยอัตโนมัติ อาจจะไม่สามารถดับไฟให้หมดได้ในทันที
1. จำนวนพื้นที่ป้องกันเพลิงสูงสุดของแต่ละหัวฉีด
2. จัดหัวฉีดไม่ให้มีสิ่งกีดขวางทิศทางของการโปรยน้ำ
3. ระยะห่างของหัวฉีดจากระดับเพดาน
วาล์วสัญญาณเตือนภัยสำหรับระบบท่อเปียก
ในระบบดับเพลิงแบบโปรยน้ำจะต้องมีวาล์วสัญญาณสำหรับเตือนภัยอยู่ด้วย มักจะติดอยู่ใกล้ส่วนล่างของท่อยืน หรือที่ท่อแยกสสำหรับแต่ละชั้น หน้าที่สำคัญของวาล์วสัญญาณเตือนนภัยก็คือ
- เป็นสัญญาณแจ้งเพลิงไหม้
- ช่วยให้การดับเพลิงมีประสิทธิผลดีขึ้น
หน้าที่ประการหลังนี้สืบเนื่องมาจากประการแรก ระบบดับเพลิงจะโปรยน้ำโดยอัตโนมัติ อาจจะไม่สามารถดับไฟให้หมดได้ในทันที
สัญญาณเตือนภัยจะช่วยให้ผู้อยู่ในอาคารสามารถช่วยในการดับเพลิงเพิ่มขึ้นอีก โดยใช้เครื่องดับเพลิงหิ้วได้ ฯลฯ
การทำงานในบางครั้งของหัวฉีดเพียงหนึ่งหรือสองหัวก็สามารถดับไฟลงได้แล้ว ผู้ที่มาเพราะสัญญาณเตือนภัยก็อาจจะปิดวาล์วน้ำซึ่งจะทำให้
ทรัพย์สินเสียหายจากการถูกน้ำลดลงไปได้ด้วย ปรกติวาล์วนี้จะปิดอยู่โดยมีความดันน้ำอยู่ภายในท่อน้ำที่ต่ออยู่ทั้งสองด้าน
เมื่อหัวฉีดเปิดให้น้ำไหลออกไป ความดันด้านหนึ่งจะลดลง น้ำภายในท่อก็จะดันแผ่นกั้นน้ำให้ยกขึ้นด้านข้างของวาล์วจะมีรูเล็ก ๆ ให้น้ำไหลออกไปได้
ซึ่งจะต่ออยู่กับสวิตช์เตือนภัย ความดันของน้ำจะทำให้สวิตช์เตือนภัยส่งเสียงดังเพื่อแจ้งสัญญาณเพลิงไหม้
ระบบรักษาความปลอดภัย : รั้วไฟฟ้า
ระบบดับเพลิงชนิดพ่นน้ำเป็นฝอย
ระบบแบบพ่นน้ำฝอย หัวฉีดทุกหัวจะทำงานพร้อมกัน โดยมีระยะห่างที่พอเหมาะ กรณีที่เกิดเพลิงไหม้ที่บริเวณใกล้เคียงจนอุณหภูมิรอบ ๆ
สูงขึ้นอาจจะเป็นอันตรายได้ อุปกรณ์ตรวจความร้อนจะเปิดวาล์วน้ำและหัวฉีดทุกหัวจะทำการพ่นน้ำตรงไปยังพื้นผิวเพื่อทำการหล่อผิวให้เย็นลง
ตำแหน่งของท่อและหัวฉีดเมื่อเทียบกับผิวที่จะหล่อเย็นจะต้องจัดตามลักษณะและขนาดของผิวนั้น ซึ่งไม่มีกฏเกณฑ์ที่จะกำหนดให้แน่นอนลงไปได้
ปรกติแล้วระบบนี้จะต้องการไหลของน้ำสูงกว่าระบบโปรยน้ำฝอยมากส่วนความดันน้ำที่ต้องการมักจะอยู่ระหว่าง 3 บาร์ ถึง 10 บาร์
ซึ่งขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของระบบ เมื่อสามารถกำหนดตำแหน่งของหัวฉีด และอัตราความต้องการของน้ำได้แล้ว ก็สามารถคำนวณหาขนาดของท่อและอุปกรณ์ให้ความดันแก่น้ำได้
ระบบน้ำยาสร้างฟองอากาศ
เหมาะสำหรับการดับไฟที่เกิดจากน้ำมัน หรือเชื้อเพลิงเหลวต่าง ๆ แต่ไม่เหมาะที่จะใช้กับเครื่องจักรและบริเวณที่อาจจะเกิดอันตรายจากไฟฟ้าได้
ระบบน้ำยาสร้างฟองอากาศ
เหมาะสำหรับการดับไฟที่เกิดจากน้ำมัน หรือเชื้อเพลิงเหลวต่าง ๆ แต่ไม่เหมาะที่จะใช้กับเครื่องจักรและบริเวณที่อาจจะเกิดอันตรายจากไฟฟ้าได้
เพราะการชำระล้างจะทำได้ยากและเป็นตัวนำไฟฟ้า หลักการของระบบนี้ก็คือ การเติมน้ำยาที่ช่วยให้เกิดฟองอากาศลงไปในน้ำที่ใช้ดับเพลิง
ซึ่งเมื่อฉีดออกไปแล้วฟองอากาศเล็ก ๆ จำนวนมากจะไปปกคลุมบนเชื้อเพลิงให้มิดชิด ความเย็นของน้ำซึ่งทำหน้าที่ลดอุณหภูมิลงจนถึงจุดที่ต่ำกว่าการติดไฟ
ฟองอากาศเหล่านี้จำทำหน้าที่ปิดกั้นไม่ให้ออกซิเจนจากภายนอเข้ามาช่วยในการลุกไหม้ด้วยความหนาของโฟมที่ใช้ในการปกคลุมผิวหน้าของเชื้อเพลิงเหลวนี้ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของพื้นที่ การใช้งานอยู่ภายในอาคารความหนาของโฟมเพียง 100 มม. ถึง 200 มม. ก็อาจจะเพียงพอ ถ้าเป็นการใช้งานอยู่กลางแจ้ง
นอกอาคารอาจจะต้องใช้โฟมหนากว่า 300 มม.ขึ้นไป น้ำยาที่ช่วยให้เกิดฟองอากาศมีอยู่หลายชนิด ขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำยา
และอุปกรณ์ที่ใช้ระบบน้ำยาสร้างฟองอากาศนี้ใช้ได้ทั้งระบบดับเพลิงสายสูบ และระบบหัวฉีดแบบโปรยน้ำ
ระบบผสมน้ำยาของโฟม
ระบบสามารถปรับสัดส่วนของน้ำยาและน้ำได้อัตโนมัติ อาศัยความดันและเครื่องสูบน้ำยา จะส่งน้ำยาให้ไหลผ่านไปเข้าท่อน้ำตรงอุปกรณ์ผสมน้ำยาซึ่งเป็น nozzle
ระบบผสมน้ำยาของโฟม
ระบบสามารถปรับสัดส่วนของน้ำยาและน้ำได้อัตโนมัติ อาศัยความดันและเครื่องสูบน้ำยา จะส่งน้ำยาให้ไหลผ่านไปเข้าท่อน้ำตรงอุปกรณ์ผสมน้ำยาซึ่งเป็น nozzle
จะทำหน้าที่กระจายน้ำยาเข้าผสมกับน้ำในลักษณะที่ต้องการ ต่อเข้ากับท่อน้ำและท่อน้ำยาตามลำดับ ความดันน้ำสูงกว่าความดันของน้ำยา
วาล์วนี้จะหรี่ลงเพื่อให้น้ำยาไหลออกไปสู่ระบบมากขึ้น ในทางกลับกัน ความดันของน้ำยาสูงกว่าของน้ำ วาล์วก็จะปล่อยให้น้ำยาไหลผ่านกลับเข้ามาถังน้ำยามากขึ้นด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น