กล้องวงจรปิด

รูปภาพของฉัน
บริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ติดตั้ง รับประกันผลงานตลอดอายุการใช้งาน กล้องวงจรปิด รั้วไฟฟ้า สัญญาณกันขโมย สอบถามได้ที่ Line ID : @CctvBangkok.com

วันศุกร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2562

IMAP (Internet Message Access Protocol) กล้องวงจรปิด

IMAP (Internet Message Access Protocol)


POP3 มีปัญหาคือผู้ใช้ไม่สามารถจัดการเมลบ็อกซ์ของตัวเองได้ ทำได้เพียงดาวน์โหลดเมลและลบเมลที่ไม่ต้องการเท่านั้น 

ผู้ใช้บางคนที่ต้องการเก็บเมลไว้ที่เซิร์ฟเวอร์เพื่อที่เขาจะได้อ่านเมลจากเครื่องใดก็ได้นั้น  เมลที่เก็บไว้ในเมลบ็อกซ์เพิ่มจำนวนมากขึ้นอาจทำให้ผู้ใช้ยากที่จะจัดการเมลได้

ผู้ใช้ไม่สามารถบอกได้ว่าเมลไหนที่ได้อ่านแล้วหรือผู้ใช้ไม่สามารถสร้างโฟลเดอร์ใหม่ที่เซิร์ฟเวอร์ได้  ทำให้ยากต่อการค้นหาเมลหรือ

ถ้าต้องการอ่านเฉพาะเมลใหม่ก็ทำยากIMAP เป็นโปรโตคอบสำหรับเข้าจัดการเมลบ็อกซ์และถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาของ POP3IMAP 

เป็นโปรโตคอลที่อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถจัดการเมลบ็อกซ์ที่เซิร์ฟเวอร์และยังอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดเฉพาะบางส่วนของเมลเท่านั้น  


สินค้าแนะนำ :    รั้วไฟฟ้ากันขโมย    กล้องวงจรปิด   สัญญาณกันขโมยไร้สาย






ในการเชื่อมต่อแต่ละครั้งของ IMAP เซิร์ฟเวอร์จะอยู่ใน 4 สถานะคือ


- Non-Authenticated State   :     

สถานะเริ่มเมื่อมีการสร้างการเชื่อมต่อในตอนแรก  โดยในชั้นนี้ไคลเอนต์ต้องส่ง  ชื่อล็อกอินและรหัสผ่าน  เพื่อตรวจสอบสิทธิ์การใช้งานได้เท่านั้น

- Authenticated State   :      

เมื่อเซิร์ฟเวอร์ตรวจสอบผู้ใช้ผ่านแล้ว  ขั้นตอนต่อไปผู้ใช้ต้องส่งข้อมูลเกี่ยวกับว่าต้องการอ่านหรือจัดการเมลที่อยู่ในโฟล์เดอร์ใด

- Selected State   :    

เมื่อเลือกโฟลเดอร์แล้วผู้ใช้ถึงมีสิทธิ์จัดการเมลได้    เช่น  ดาวน์โหลด  ย้ายโฟลเดอร์ ลบเมล เป็นต้น

- Logout State   :     

สถานะนี้เริ่มเมื่อผู้ใช้สิ้นสุดการเชื่อมต่อ  หรือเซิร์ฟเวอร์ยกเลิกก็ได้


                       การรับส่งอีเมลไม่มีการเข้ารหัสข้อมูลไม่ว่าจะใช้โปรโตคอล SMTP, POP  โปรโตคอลเหล่านี้ถูกออกแบบมา

เพื่อให้การสื่อสารอีมลเป็นมาตรฐานเดียวกันเท่านั้น  ไม่ได้เน้นเรื่องการรักษาความปลอดภัยข้อมูล  ผู้ใช้ต้องการปกปิดข้อความในจดหมายนั้น  

ก็เป็นหน้าที่ของผู้ใช้ที่ต้องหาทางในการเข้ารหัสข้อมูลก่อนที่จะส่งผ่านระบบเมล  ต่อมาก็ได้มีการพัฒนาโปรโตคอลเพื่อสำหรับการเข้าอีเมล  

พร้อมทั้งมีลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสำหรับการตรวจสอบแหล่งที่มาหรือเจ้าของอีเมลได้  โปรโตคอลที่นิยมใช้ในการเข้ารหัสอีเมล





การรักษาความปลอดภัยในระดับทรานสปอร์ตเลเยอร์


ในระดับทรานสปอร์ตเลเยอร์นั้นการรักษาความปลอดภัยจะให้บริการแบบแอนด์ทูแอนด์  หรือ โฮสต์ทูโฮสต์   สำหรับแอพพิลเคชันโปรโตคอล

ที่นิยมมากที่สุดในปัจจุบันคือ SSL   จุดมุ่งหมายหลักของโปรโตคอลเหล่านี้เพื่อให้บริการแก่ไคลเอนต์และเซิร์ฟเวอร์สำหรับการพิสูจน์ทราบตัวจริง   

การรักษาความลับข้อมูลและการรักษาความถูกต้องของข้อมูล  เป็นโปรโตคอลของเว็บนั่นเองโดยปรกติโปรโตคอลนี้ก็จะให้บริการของโปรโตคอล TOP 

ในชั้นทรานสปอร์ตในการรับส่งข้อมูลระหว่างไคลเอนต์และเซิร์ฟเวอร์    ถ้าต้องการรักษาความปลอดภัยข้อมูลทั้งบราวเซอร์และเว็บเซิร์ฟเวอร์

ต้องรองรับ  SSL หรือ TLS จะทำหน้าที่ให้ข้อมูลของ HTTP  ถูกเข้ารหัสด้วย SSL  หรือ  TLS  ก่อนแล้วค่อยส่งต่อไปให้โปรโตคอล TOP อีกทีหนึ่ง


SSL


                  โปรดตคอลที่ใช้สำหรับเข้ารหัสข้อมูลและการพิสูจน์ตัวตน ระหว่างเว็บเซิร์ฟเวอร์และไคลเอนต์   การทำงานจะเริ่มจากเจรจา

เพื่อตกลงเกี่ยวกับอับกอริทึมและคีย์ที่ใช้สำหรับการเข้ารหัสข้อมูล  ขั้นตอนการพิสูจน์ทราบตัวจริงเมื่อตกลงเกี่ยวกับอัลกอริทึมที่คีย์

พร้อมทั้งได้พิสูจน์ตัวจริงซึ่งกันและกัน  ไคลเอนต์และเซิร์ฟเวอร์เริ่มการสื่อสารโดยข้อมูลที่รับส่งกันจะถูกเข้ารหัสด้วยเซสซันคีย์ที่ตกลงกัน  SSL

เป็นโปรโตคอลที่นิยมใช้ในอีคอเมิร์ซเป็นอย่างมาก  และยังเป็นพื้นฐานสำหรับการออกแบบ TLS  ซึ่งเป็นมาตรฐานการสื่อสารอย่างปลอดภัยที่พัฒนา

โดย IETF  นั่นเองSSL และ TLS  เป็นโปรโตคอลในระดับทรายนปอร์ตเลเยอร์   การใช้งานไม่จำกัดเฉพาะเว็บแอพพลิเคชันเท่านั้นโปรโตคอลอื่น ๆ 

สามารถใช้ทั้งสองโปรโตคอลนี้ในการสื่อสารอย่างปลอดภัยกล้องวงจรปิดได้เช่นกัน

 



SSL มีขั้นตอนการทำงานที่สำคัญดังนี้


                      การพิสูจน์ทรายตัวจริงของเซิร์ฟเวอร์   :  SSL    จะอนุญาตให้เว็บบราวเซอร์เก็บรายชื่อของ CA(Certificate Authority)  ที่เชื่อถือได้  



เมื่อเว็บบราวเซวอร์ต้องการสื่อสารกับเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่รองรับSSL เว็บบราวเซอร์จะติดต่อกับเซิร์ฟเวอร์เพื่อขอรับใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์  

ซึ่งภายในจะมีพับลิกคีย์ของเซิร์ฟเวอร์ไคลเอนต์  สามารถพิสูจน์ทราบตัวจริงของเว็บเซิร์ฟเวอร์ได้   โดยการตรวจสอบใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์นี้กับ CA ที่ไคลเอนต์มีรายชื่ออยู่

- การพิสูจน์ทราบตัวจริงของไคลเอนต์     ในบางครั้งไคลเอนต์ก็อาจต้องการพิสูจน์ทราบตัวจริงของไคลเอนต์เช่นกัน  

จะได้มั่นใจว่ากำลังสื่อสารกับคนที่ต้องการได้จริง ๆ ขั้นตอนการพิสูจน์ก็จะคล้ายกับการพิสูจน์ทราบตัวตนของเซิร์ฟเวอร์  

ไคลเอนต์จะส่งใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ของตัวเองไปให้เซิร์ฟเวอร์ ๆ ก็จะสามารถตรวจสอบใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์กับ CA ที่เซิร์ฟเวอร์ได้ให้ความเชื่อถือ

- การเข้ารหัสข้อมูล      ข้อมูลที่รับส่งระหว่างไคลเอนต์และเซิร์ฟเวอร์นั้น  จะถูกเข้ารหัสแบบซิมเมตริกคีย์เอ็นคริพชัน  โดยใช้คีย์ที่ตกลงกันในตอนต้น  

และการบริการนี้ทำให้คู่สนทนามั่นใจได้ว่าข้อมูลนี้จะไม่ถูกแอบดักอ่าน  หรือแก้ไขจากบุคคลที่สามารถในระหว่างการรับส่งข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น