ประวัติการเข้ารหัสข้อมูล
ในสมัยโบราณได้มีการบันทึกเอกสารทางประวัติศาสตร์ว่ามีการใช้การเข้ารหัสข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญบางคนเชื่อว่าในการเข้ารหัสได้ค่อย ๆ
พัฒนาหลังจากได้มีการประดิษฐ์ตัวอักษรและการเขียนซึ่งมีการประยุกต์ใช้ตั้งแต่การส่งสารเพื่อการทูตไปจนถึงการส่งสารเกี่ยวกับการรบในยามสงคราม
และได้มีการพัฒนาต่อมาเรื่อย ๆ จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการใช้การเข้ารหัสข้อมูลอย่างจริงจังได้มีการนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์
และได้มีการพัฒนาต่อมาเรื่อย ๆ จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการใช้การเข้ารหัสข้อมูลอย่างจริงจังได้มีการนำเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์
มาใช้ในการสื่อสารอย่างแพร่หลาย ข้อมูลที่สื่อสารกันไม่ใช่อยู่ในรูปแบบตัวอักษรหรือข้อความเท่านั้น แต่อยู่ในรูปแบบอื่น ๆ ด้วย
เสียงก็เป็นอีกข้อมูลหนึ่งที่ต้องเข้ารหัสเพื่อปกป้องความลับเพราะอาจมีการแอบดักฟัง การเข้ารหัสข้อมูลมีประวัติมาช้านาน
สินค้าแนะนำ : รั้วไฟฟ้ากันขโมย กล้องวงจรปิด สัญญาณกันขโมย
ในปัจจุบันการเข้ารหัสข้อมูลถูกใช้สำหรับปกป้องข้อมูลอย่างแพร่หลายในระบบที่ใช้ในภาคเอกชนและธุรกิจ การเข้ารหัสยังใช้ในระบบบริหารจัดารลิขสิทธิ์แบบดิจิตอล
เพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิทางปัญญา ซึ่งมีทั้งซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์มาตรฐานที่ใช้สำหรับการเข้ารหัสข้อมูล มีเทคนิคในการเข้ารหัสข้อมูลที่ยากต่อการถอดรหัส
แต่ปัญหาส่วนใหญ่อยู่ที่วิธีการในการใช้งานซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ และการบริหารจัดการคีย์ที่ทำให้การรักษาความปลอดภัยข้อมูลล้มเหลว
ประเภทของการเข้ารหัสข้อมูล
ข้อมูลทั่วไปที่รับส่งผ่านเครือข่ายอยู่ในรูปเคลียร์เท็กซ์ ข้อมูลอาจถูกแอบอ่านหรือคัดลอกด้วยการใช้เทคนิคที่เรียกว่า สนิฟเฟอริง
เพื่อป้องกันการขโมยข้อมูลที่รับส่งผ่านเครือข่ายที่ไม่มีความปลอดภัย ข้อมูลจึงจำเป็นต้องมีการเข้ารหัส การเข้ารหัสข้อมูลซึ่งข้อมูลนี้จะถูกส่งไปให้ผู้รับ
เมื่อผู้รับได้รับข้อมูลก็จะถอดรหัสข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลเดิม การเข้าและถอดรหัสข้อมูลจะเรียกว่า คริพโตกราฟี ปัจจุบันการเข้ารหัสข้อมูลจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
- ซีเคร็ทคีย์คริพโตกราฟี
- ซีเคร็ทคีย์คริพโตกราฟี
- พับลิกคีย์คริพโตกราฟี
กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสข้อมูลมีสองขั้นตอน คือ การเข้ารหัสและการถอดรหัส บางฟังก์ชันมีการเข้ารหัสแบบทางเดียว
ฟังก์ชันนี้เรียกว่า แฮชฟังก์ชัน ข้อมูลที่มีความยาวคงที่ไม่ว่าอินพุดจะมีขนาดความยาวเท่าใดก็ตาม ข้อมูลที่ได้นั้นจะไม่มีการถอดรหัสกลับมาเป็นข้อมูลดังเดิมได้อีก
ฟังก์ชันนี้มีประโยชน์สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลหรือการตรวจเช็คดูว่าข้อมูลนั้นได้ถูกแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงจากเดิมหรือไม่
Secret Key Cryptography
การเข้ารหัสแบบนี้หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการเข้ารหัสแบบสมมาตร เป็นกรรมวิธีการเข้ารหัสและการถอดรหัสจะใช้คีย์เดียวกัน
สำหรับการเข้ารหัสแบบนี้คีย์ที่ใช้จะมีความยาวคงที่ การไหลของข้อมูลฝ่ายส่งจะนำข้อมูลที่ต้องการส่งหรือเพลนเท็กซ์คือ “ABC” มาเข้ารหัส
โดยใช้คีย์ผลที่ได้คือ ไซเฟอร์เท็กซ์ซึ่งมีค่าเป็น “l&#” แล้วส่งผ่านเครือข่าย เมื่อถึงปลายทางฝ่ายรับก็จะถอดรหัสข้อมูลโดยใช้คีย์เดียวกัน ซึ่งข้อมูลก็จะถูกเปลี่ยนกลับมาเป็น “ABC” เหมือนเดิม
การเข้าข้อมูลแบบนี้คีย์ที่ใช้ในการเข้ารหัสนั้นจะต้องรู้เหมือนกันทั้งฝ่ายรับและฝ่ายส่งซึ่งจะต้องเก็บเป็นความลับ
การเข้าข้อมูลแบบนี้คีย์ที่ใช้ในการเข้ารหัสนั้นจะต้องรู้เหมือนกันทั้งฝ่ายรับและฝ่ายส่งซึ่งจะต้องเก็บเป็นความลับ
จุดอ่อนของการเข้ารหัสแบบนี้อยู่ที่การแจกจ่ายคีย์ เพราะตอนเริ่มต้นจะต้องมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ยังไม่ได้รับคีย์ ปกติการแจกจ่ายคีย์จะ
ใช้ช่องทางสื่อสารที่ปลอดภัยของกล้องวงจรปิด ในทางปฏิบัตินั้นเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและเสียเวลามากเกินไป วิธีที่ดีที่สุดในการแจกจ่ายคีย์
คือ การใช้พับลิกคีย์คริพโดกราฟี รูปแบบการเข้ารหัสแบบซีเคร็ทคีย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
- สตรีมไซเฟอร์
- บล็อกไซเฟอร์
ปัญหาการเข้ารหัสข้อมูลแบบซิมเมตริกหรือซีเคร็ทคีย์ ฝ่ายรับและฝ่ายส่งต้องตกลงกันว่าจะใช้คีย์อะไรในการเข้ารหัสข้อมูลทั้งสองฝ่าย
- สตรีมไซเฟอร์
- บล็อกไซเฟอร์
Public Key Cryptography
ปัญหาการเข้ารหัสข้อมูลแบบซิมเมตริกหรือซีเคร็ทคีย์ ฝ่ายรับและฝ่ายส่งต้องตกลงกันว่าจะใช้คีย์อะไรในการเข้ารหัสข้อมูลทั้งสองฝ่าย
ต้องใช้ช่องทางทางสื่อสารที่หวังว่าจะปลอดภัยเพื่อแลกเปลี่ยนคีย์กัน ทั้งสองฝ่ายอาจต้องนัดเจอกันตัวต่อตัวหรือช่องทางการสื่อสารอื่น
แต่ในโลกของการสื่อสารผ่านเครือข่ายแล้วโอกาสที่ทั้งสองฝ่ายจะสื่อสารผ่านช่องทางอื่นเป็นไปได้ยากจึงได้มีการพัฒนาเทคนิคสำหรับการแจกจ่ายคีย์ผ่านเครือข่ายอย่างปลอดภัย
เทคนิคนี้จะใช้คีย์เข้ารหัสและถอดรหัสคนละคีย์ ซึ่งเทคนิคนี้เป็นที่รู้จักกันว่า พับลิกคีย์คริพโตกราฟี การเข้ารหัสแบบคีย์คู่เป็นการเข้ารหัสที่ใช้คีย์หนึ่ง
เทคนิคนี้จะใช้คีย์เข้ารหัสและถอดรหัสคนละคีย์ ซึ่งเทคนิคนี้เป็นที่รู้จักกันว่า พับลิกคีย์คริพโตกราฟี การเข้ารหัสแบบคีย์คู่เป็นการเข้ารหัสที่ใช้คีย์หนึ่ง
สำหรับเข้ารหัสและอีกคีย์หนึ่งใช้สำหรับถอดรหัส ซึ่งคีย์ทั้งสองนี้จะมีความสัมพันธ์กันเป็นคีย์ที่รู้เฉพาะเจ้าของ ส่วนพับลิกคีย์เป็นคีย์ที่ประกาศให้สาธารณะทราบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น