กล้องวงจรปิด

รูปภาพของฉัน
บริการให้คำปรึกษา ออกแบบ ติดตั้ง รับประกันผลงานตลอดอายุการใช้งาน กล้องวงจรปิด รั้วไฟฟ้า สัญญาณกันขโมย สอบถามได้ที่ Line ID : @CctvBangkok.com

วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2562

การรักษาความปลอดภัยของระบบและข้อมูล (กล้องวงจรปิด)

 การรักษาความปลอดภัยของระบบและข้อมูลกล้องวงจรปิด        

ในปัจจุบันอินเทอร์เน็ตเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น  ๆ  ทั่วโลก  และยังเป็นช่องสื่อสารที่จำเป็นและสำคัญของคนทั่วโลก  

ทั้งยังใช้เป็นเครื่องมือในการทำธุรกิจหรือที่เรียกว่า “อีคอมเมิร์ช”   อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายสาธารณะนานาชาติที่ใหญ่ที่สุด

ฉะนั้นการรักษาความปลอดภัยของระบบและข้อมูลกล้องวงจรปิดจึงเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่ง   การรักษาความปลอดภัยสามารถแยกออกได้หลายด้าน   

โดยเฉพาะเรื่องการจ่ายเงินไปจนถึงการสื่อสารส่วนบุคคลแฃะการป้องกันรหัสผ่าน  และที่สำคัญอีกด้านต่อการสื่อสารที่ปลอดภัยคือ  

การเข้ารหัสข้อมูลหรือคริพโตกราฟี   การเข้ารหัสข้อมูลอย่างเดียวคงไม่เพียงพอที่ทำให้การสื่อสารนั้นปลอดภัยได้  

แต่เป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งสำหรับการรักษาความปลอดภัยข้อมูลที่ต้องการรักษาความลับและความถูกต้องของข้อมูล


อุปกรณ์รักษาความปลอดภัยแนะนำ :   รั้วไฟฟ้ากันขโมย    กล้องวงจรปิด  สัญญาณกันขโมยไร้สาย




                     การเข้ารหัสข้อมูลกล้องวงจรปิดเป็นการปกป้องข้อมูลที่กำลังสื่อสารผ่านเครือข่ายสาธารณะ   ส่วนการซ่อนพรางข้อมูลหรือสเตกาโนกราฟี  

เป็นการซ่อนข้อมูลอื่น  ๆ  เพื่อปกปิดไม่ให้คนทั่วไปรู้ว่ามีข้อมูลที่แฝงอยู่ในไฟล์ที่เห็นวิธีที่ใช้สำหรับปกปิดช่องทางลับของการสื่สารไม่ใช้เป็นการเข้ารหัสข้อมูล  

แต่อาจใช้เทคนิคในการเข้ารหัสข้อมูลมาใช้ร่วมกับการซ่อนพรางด้วยก็ได้จะช่วยเพิ่มความปลอดดภัยให้กับข้อมูลและการสื่อสารนั้น 

การสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตอนุญาตให้ข้อมูลสามารถส่งจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งอาจต้องผ่านคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย

อีกมากมายกว่าข้อมูลนั้นจะเดินทางไปถึงปลายทาง  ทำให้บุคคลที่สามสามารถแอบดักฟังหรือขัดขวางการสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ตได้  รูปแบบของภัยคุกคามสามารถแบ่งออกได้ดังนี้

- การแอบดักอ่านข้อมูล

- การแอบแก้ไขข้อมูล

- การปลอมตัวหรือการหลอกลวง




                       ภัยคุกคามสามารถป้องกันได้โดยการใช้การเข้ารหัสข้อมูลเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นเมื่อมีการสื่อสารผ่านสื่อที่เชื่อถือไม่ได้หรือไม่มีความปลอดภัย   

ซึ่งเกือบจะทุกเครือข่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งเครือข่ายอินเทอร์เน็ต   หลักการที่สำคัญของการรักษาความปลอดภัยข้อมูลที่การเข้ารหัสข้อมูลสามารถประยุกต์ใช้ได้ประกอบด้วย

- การรักษาความลับ

- การรักษาความถูกต้อง

- การพิสูจน์ทราบตัวตน

- การไม่ปฏิเสธการกระทำ

การเข้ารหัสข้อมูลไม่ใช่เพียงการปกป้องข้อมูลจากการจารกรรมหรือการเปลี่ยนแปลงได้เท่านั้น  แต่ยังสามารถใช้พิสูจน์ทราบตัวตนของผู้ส่งและผู้รับได้ด้วย   

กระบวนการของการเข้ารหัสข้อมูลนั้นข้อมูลดั้งเดิมที่ยังไม่ได้เข้ารหัสจะเรียกว่า  เพลนเท็กซ์  ข้อมูลนี้จะถูกส่งผ่านกรรมวิธีในการเข้ารหัสซึ่งจะเรียกกระบวนการนี้ว่า  ไซเฟอร์

ผลที่ได้จากกระบวนการนี้  คือ  ข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสแล้ว  ซึ่งจะเรียกว่า  ไซเฟอร์เท็กซ์  และเมื่อใช้ผ่านกระบวนการไซเฟอร์โดยปกติจะเป็นกระบวนการที่ย้อนกลับก็จะทำให้ได้เพลนเท็กซ์กลับมาเหมือนเดิม


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น