แหล่งขายกล้องวงจรปิด
แหล่งขายกล้องวงจรปิด ผู้ให้บริการและองค์การพยายามเป็นที่สุดที่จะให้การบริการที่มีคุณภาพ และปราศจากความผิดพลาดรวมถึงให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ แต่ย่อมมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ และไม่ว่าสาเหตุของความผิดพลาดนั้นจะเกิดจากลูกค้าหรือจากผู้ให้บริการก็ตาม
พนักงานบริการย่อมมีหน้าที่แก้ปัญหาเฉพาะหน้าและข้อผิดพลาดนั้นพร้อมทั้งเยียวยาความไม่พึงพอใจของลูกค้า การป้องกันข้อผิดพลาด และการปฏิบัติตนภายใต้วิกฤตร้ายแรง
สินค้าแนะนำ : กล้องวงจรปิด
1. การรับคำตำหนิ ส่วนมากมักมาพร้อมกับอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งของลูกค้า ในขณะที่ข้อสังเกตคือ ข้อเท็จจริง ปราศจากอารมณ์
- ขั้นตอนการรับคำตำหนิ รับฟังคำตำหนิอย่างตั้งใจ ทวนข้อความกลับไปด้วยคำพูกของคุณเอง ขอโทษอย่างจริงใจ สัญญาว่าจะหาสาเหตุของปัญหา
เสนอทางแก้ปัญหาแก่ลูกค้า หากลูกค้ายังไม่พอใจให้หาของเพื่อตอบแทนเป็นของกำนัล ขอบคุณลูกค้า ติดตามผล
- ข้อห้ามในการรับคำตำหนิ แก้ตัว ทะเลาะกับลูกค้า วิพากษ์วิจารณ์ลูกค้า ท้าทายลูกค้า ไม่ใส่ใจลูกค้า ทำเรื่องให้ใหญ่โตเกินจริง
2. การบริการสถานการณ์วิกฤต
- สาเหตุที่ลูกค้าหยุดใช้บริการ เช่น บริการไม่ดี มีสินค้าที่บริการที่อื่นถูกกว่า ลูกค้าเปลี่ยนใจง่าย หรือเป็นลูกค้าที่ไม่ได้เป็นขาประจำ
- สาเหตุที่ทำให้ลูกค้าไม่พอใจ เช่น ไม่มีหรือขาดบริการที่ลูกค้าต้องการ หรือให้บริการขาดตกบกพร่อง ลูกค้ามีความต้องการพิเศษที่องค์การไม่สามารถตอบสนองได้ พนักงานไม่ให้ความสนใจลูกค้าเพียงพอ
การบริการที่ทำให้ลูกค้าไม่พอใจน้อยที่สุด วิธีการรับคำตำหนิเมื่อเกิดความผิดพลาด แต่การป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดย่อมดีกว่าการแก้ไข
- ข้อห้ามในการรับคำตำหนิ แก้ตัว ทะเลาะกับลูกค้า วิพากษ์วิจารณ์ลูกค้า ท้าทายลูกค้า ไม่ใส่ใจลูกค้า ทำเรื่องให้ใหญ่โตเกินจริง
2. การบริการสถานการณ์วิกฤต
- สาเหตุที่ลูกค้าหยุดใช้บริการ เช่น บริการไม่ดี มีสินค้าที่บริการที่อื่นถูกกว่า ลูกค้าเปลี่ยนใจง่าย หรือเป็นลูกค้าที่ไม่ได้เป็นขาประจำ
- สาเหตุที่ทำให้ลูกค้าไม่พอใจ เช่น ไม่มีหรือขาดบริการที่ลูกค้าต้องการ หรือให้บริการขาดตกบกพร่อง ลูกค้ามีความต้องการพิเศษที่องค์การไม่สามารถตอบสนองได้ พนักงานไม่ให้ความสนใจลูกค้าเพียงพอ
การป้องกันความไม่พอใจของลูกค้า
การบริการที่ทำให้ลูกค้าไม่พอใจน้อยที่สุด วิธีการรับคำตำหนิเมื่อเกิดความผิดพลาด แต่การป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดย่อมดีกว่าการแก้ไข
“การป้องกันไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด หรือ ลดโอกาสที่จะทำให้เกิดข้อผิดพลาด” วิธีการปฏิบัติขั้นพื้นฐาน นั่นคือ การให้บริการและการปฏิบัติหน้าที่ที่เสมอต้นเสมอปลาย
กระฉับกระเฉง และมีแผนสำรองไว้ในยามฉุกเฉินนั่นเอง การป้องกันข้อผิดพลาดไม่ใช่เรื่องสลับซับซ้อน ไม่ให้เกิดความล้มเหลวในการให้บริการ
เป็นการป้องกันไม่ให้พนักงานต้องเสียเวลา และแรงงานไปโดยไม่จำเป็นกับการแก้ปัญหา ตลอดจนไม่ต้องคอยแก้ไขการให้บริการ สิ่งที่ดีที่สุด คือ ยิ่งมีข้อผิดพลาดน้อยเท่าไร
ลูกค้าก็ยิ่งพอใจมากยิ่งขึ้น ความผิดพลาดในการให้บริการมาจาก 2 แหล่งหลัก ๆ ก็คือ จากลูกค้า และจากผู้ให้บริการ แหล่งที่อาจทำให้เกิดความผิดพลาดในการให้บริการ โดยแบ่งออกดังนี้
- การป้องกันความผิดพลาดจากผู้ให้บริการ
- การป้องกันความผิดพรากจากตัวลูกค้า
การปฏิเสธลูกค้าที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
งานบริการก็ต้องมีขอบเขต การปฏิเสธลูกค้าที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ทุก ๆ สิ่งย่อมมีขอบเขต แม้ว่าผู้ให้บริการจะถูกปลูกฝังให้ทำทุกอย่างที่ลูกค้าต้องการ
- การป้องกันความผิดพลาดจากผู้ให้บริการ
- การป้องกันความผิดพรากจากตัวลูกค้า
การปฏิเสธลูกค้าที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
งานบริการก็ต้องมีขอบเขต การปฏิเสธลูกค้าที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ทุก ๆ สิ่งย่อมมีขอบเขต แม้ว่าผู้ให้บริการจะถูกปลูกฝังให้ทำทุกอย่างที่ลูกค้าต้องการ
และทำทุกอย่างเพื่อให้ลูกค้ามีความพึงพอใจสูงสุด แต่งานบริการก็มี “ขอบเขต” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “เส้นแดง” ของการบริการ จำเป็นต้องอธิบาย
ให้ชัดเจนไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นเรื่องการเข้าใจผิดเพราะมันก้ำกึ่งอยู่ระหว่าง “ทัศนคติที่ควรมีต่อลูกค้า” กับ “การเลือกปฏิบัติ”
ในงานบริการนั้น “เส้นแดง” คือ การที่ลูกค้าได้กระทำจนเกินขอบเขตของผู้รับยริการแล้ว และผู้ให้บริการก็สามารถปฏิเสธหรือหยุดให้บริการได้
ในงานบริการนั้น “เส้นแดง” คือ การที่ลูกค้าได้กระทำจนเกินขอบเขตของผู้รับยริการแล้ว และผู้ให้บริการก็สามารถปฏิเสธหรือหยุดให้บริการได้
เมื่อเจอกับสถานการณ์ผิดปกติในกรณีที่ได้ให้บริการและแก้ปัญหาได้อย่างดีที่สุดแล้ว รับฟังอย่างสุภาพ อธิบายเหตุผลให้ชัดเจน พยายามแก้ไขอย่างสุดความสามารถและอดทนอย่างถึงที่สุด
แต่ทางลูกค้าก็ยังจะเรียกร้องเอสิ่งที่เกินความเป็นไปได้ หรือไม่ยอมลดราวาศอก แล้วก็กล่าวขอโทษและยืนยันไปอย่างสุภาพ ถ้าลูกค้ายังไม่ยอมฟังหรือยอมรับ
ผู้ให้บริการก็สามารถหยุดให้บริการได้ และถ้าหากลูกค้ายังโวยวายหรือดื้อแพ่งและรบกวนสิทธิของลูกค้าอื่น ๆ ก็ให้แจ้งลูกค้าและเชิญออกไปจากสถานที่ของผู้ให้บริการได้
แต่ถ้ามีเรื่องลุกลามลูกค้าใช้คำหยาบคายด่าทอผู้ให้บริการและเริ่มทำการเกินขอบเขตถึงขั้นผิดกฏหมายและทำลายข้าวของรวมถึงเข้ามาทำร้ายร่างกาย ก็สามารถที่จะส่งเจ้าหน้าที่ตำรวจได้เลย
ระบบรักษาความปลอดภัย : รั้วไฟฟ้า
การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ
เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินต่าง ๆ ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น อุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ ภัยก่อการร้าย มีวิธีการปฏิบัติที่แตกต่างกันไปตามแต่ธุรกิจ และเหตุฉุกเฉินที่เราพบได้บ่อย และวิธีการปฏิบัติตนโดยทั่วไปของผู้ให้บริการดังนี้
- เรื่องเพลิงไหม้ ซึ่งนับว่าเป็นภัยที่สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้มากที่สุด ผู้ให้บริการจึงควรรู้เรื่องเกี่ยวกับเพลิงไหม้ ดังนี้ ระบบเตือนภัยเพลิงไหม้ ทางหนีไฟ การอพยพหนีไฟ อุปกรณ์ดับเพลิง เป็นต้น
- เรื่องคนร้าย ในองค์การของผู้ให้บริการในแต่ละวันมีลูกค้าเข้ามาใช้บริการมากมายและหนึ่งในนั้นอาจเป็นคนร้ายที่แฝงตัวเข้ามาเพื่อก่ออาชญากรรม
เจ้าหน้าที่ตำรวจมีไม่เพียงพอที่จะควบคุมได้ทุกพื้นที่ จึงเป็นหน้าที่ของผู้ให้บริการที่จะต้องคอยเป็นหูเป็นตาให้เจ้าหน้าที่
ช่วยสังเกตและจดจำตำหนิรูปพรรณของบุคคลและพาหนะของคนร้าย ดังนี้ สังเกตตำหนิรูปพรรณลักษณะเด่น มองเห็นง่าย สิ่งที่สามารถจดจำได้ง่ายและควรจำก่อน
ชาย หญิง สูง เตี้ย อายุโดยประมาณ ผมสั้น ยาว ผิวขาว ดำ สิ่งที่เป็นจุดเด่นผิดปกติ ตำหนุ ที่อาจจดจำได้ง่าย แผลเป็น รูปรอยสัก ท่าทางการเดิน สำเนียงการพูด
การแต่งกาย กรณีที่คนร้ายพรางใบหน้า สวมแว่นตา ส่วมหมวกกันน๊อค คลุมศรีษะ เป็นต้น
- การสังเกตจดจำยานพาหนะของคนร้าย หรือผู้ต้องสงสัย จดจำประเภทของรถ จักรยานยนต์ แท็กซี่ รถบรรทุก สีของรถ ยี่ห้อ ความเก่า – ใหม่ หมายเลขทะเบียนรถ
- การสังเกตจดจำยานพาหนะของคนร้าย หรือผู้ต้องสงสัย จดจำประเภทของรถ จักรยานยนต์ แท็กซี่ รถบรรทุก สีของรถ ยี่ห้อ ความเก่า – ใหม่ หมายเลขทะเบียนรถ
สิ่งที่เป็นตำหนิหรือจุดเด่น สีลอก กระจกแตก รอยชน รอยบุบ ถ้าเป็นรถจักรยานยนต์ ให้ดูประเภทวิบาก รถผู้หญิง ยี่ห้อ รุ่น เป็นต้น
- เรื่องผิดกฎหมายและผิดศีลธรรม ผู้ให้บริการจะทำทุกอย่างเพื่อให้ลูกค้าพอใจ ยกเว้นเพียง 2 เรื่องคือ เรื่องที่ผิดกฎหมาย และเรื่องศีลธรรม หากพบลูกค้าใช้สถานที่ขององค์การเพื่อทำสิ่งผิดกฏหมายและผิดศีลธรรม ผู้ให้บริการสามารถแจ้งตำรวจได้ทันที
- การขู่วางระเบิด ปัจจุบันภัยก่อการร้ายไปทุกหนแห่ง แม้แต่ในธุรกิจบริการ ผู้ให้บริการจึงควรฝึกฝนวิธีปฏิบัติตนเมื่อมีการขู่วางระเบิด
- เรื่องผิดกฎหมายและผิดศีลธรรม ผู้ให้บริการจะทำทุกอย่างเพื่อให้ลูกค้าพอใจ ยกเว้นเพียง 2 เรื่องคือ เรื่องที่ผิดกฎหมาย และเรื่องศีลธรรม หากพบลูกค้าใช้สถานที่ขององค์การเพื่อทำสิ่งผิดกฏหมายและผิดศีลธรรม ผู้ให้บริการสามารถแจ้งตำรวจได้ทันที
- การขู่วางระเบิด ปัจจุบันภัยก่อการร้ายไปทุกหนแห่ง แม้แต่ในธุรกิจบริการ ผู้ให้บริการจึงควรฝึกฝนวิธีปฏิบัติตนเมื่อมีการขู่วางระเบิด
การขู่วางระเบิดมาเป็นลายลักษณ์อักษร ให้เก็บซองหรือสิ่งห่อหุ้มไว้ เพื่อดูที่อยู่ ลายมือ ตราไปรษณีย์ ลายมือ การข่มขู่มาทางโทรศัพท์ ผู้รับไม่ควรตื่นตกใจ
ควรระงับความตื่นเต้นและพูดคุยเพื่อหารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับระเบิด สังเกตสิ่งต่อไปนี้จากเสียงของคนร้าย สำเนียง การพูด คิดว่าคนร้ายคุ้นชินกับพื้นที่นี้หรือไม่ เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น